ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน โดย วัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ทีมสหสาขาดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ HIV พยาบาลจากหน่วยงานOPD/ER/IPD/LR/ANC แพทย์ พยาบาลจากหน่วยงานOPD/ER/IPD/LR/ANC เภสัชกร HIV CO. แกนนำชมรม(PHA) นักเทคนิคการแพทย์
การติดเชื้อเอชไอวีใน 1. การตรวจวินิจฉัย ทางห้องปฏิบัติการ 2. การป้องกันและรักษา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส 9. การ จัดองค์กร (ระบบบริหารจัดการ) 3. การรักษา ด้วยยาต้านไวรัส 8. ระบบข้อมูล เพื่อการดูแล มาตรฐาน การจัดบริการ ด้านเอดส์สำหรับ สถานบริการสาธารณสุข 4. บริการปรึกษา 7. จริยธรรมและสิทธิ 6. การป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีใน สถานบริการสาธารณสุข 5. บริการ ทางสังคม
ให้บริการผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ปีละ 2 ครั้ง สรุปผลงานโดยย่อ : ปรับปรุงระบบการ ให้บริการผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ปีละ 2 ครั้ง จนทำให้ผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับการตรวจ CD4 ครบ 2 ครั้ง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 75 เป็นร้อยละ 93
เป้าหมาย : เพิ่มอัตราการตรวจCD4ปีละ2ครั้งห่าง กัน 6 เดือน ในผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัสและที่ได้รับยา ต้านไวรัสแล้วจากร้อยละ75 เป็นร้อย ละ 100 ในปีงบประมาณ 2554
มาตรฐานของการตรวจCD4 ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส และที่ได้รับยาต้านไวรัสแล้วต้องได้รับการ ตรวจระดับภูมิต้านทาน (CD4) ปีละ2ครั้งห่างกัน 6 เดือน
กระบวนการตรวจCD4 ให้บัตรนัดตรวจเลือด ตรวจเลือดที่ ห้องLAB วันรับยาต้าน ตรวจเลือดที่ ห้องLAB ตรวจสอบรายชื่อ ฟังผลวันรับยาต้าน กลับบ้าน
กราฟแสดงร้อยละการตรวจCD4ตามปีงบประมาณ
การดำเนินงาน: ประชุมทีมสหสาขาที่ดูแลผู้ติดเชื้อโดยมีอาสาสมัครแกน นำร่วมด้วย วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน กำหนดแนวทางการแก้ปัญหา ทดลองปฏิบัติ นำผลการปฏิบัติมาวิเคราะห์ /ประเมินซ้ำ
การตรวจCD4 ต่ำกว่าเป้าหมาย ผู้ป่วย ระบบริการ IT ทำงานต่างจังหวัด จำกัดวัน,เวลา ไม่สบาย ไม่ทราบความสำคัญ รอนาน ลืมวันนัด ไม่มีเงินค่ารถ การตรวจCD4 ต่ำกว่าเป้าหมาย ค่าใช้จ่าย ปิดตัวครอบครัว เตรียมเอกสารไม่ทัน ไม่ได้นัด ขาดความรู้/ทักษะ งานล้นมือ ผู้ให้บริการ
ปรับจำนวนผู้รับบริการ นัดตรวจเลือด 30-40 คนต่อครั้ง กิจกรรม ก่อน หลัง กิจกรรมที่1 ปรับจำนวนผู้รับบริการ นัดตรวจเลือด 30-40 คนต่อครั้ง นัดตรวจเลือด 15-20 คนต่อครั้ง กิจกรรมที่ 2 ปรับบัตรนัด บัตรนัดหลายใบ/ แจกหลายครั้ง บัตรนัดใบเดียวเป็นรายปี กิจกรรมที่ 3 เพิ่มวันตรวจเลือด เดือนละ1วัน (อังคารที่ 2 ของเดือน) เดือนละ3วัน (อังคารที่ 1,2,3 ของเดือน) กิจกรรมที่4 โทรศัพท์ติดตาม เป็นบางราย ทุกรายที่ผิดนัด กิจกรรมที่ 5 ประสาน อปท.รับ-ส่ง ตรวจเลือด ไม่มี ประสานให้ในรายที่ต้องการ กิจกรรมที่ 6 รับบริการที่โรงพยาบาลใกล้ที่ทำงาน ไม่มีการแนะนำ มีการให้การปรึกษา/ประสาน กิจกรรมที่ 7 การเตรียมเอกสาร เตรียมล่วงหน้า 1 สัปดาห์ เตรียมล่วงหน้า 1-3 สัปดาห์
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด เป้า หมาย 2551 2552 2553 2554 ตค-มีค เมย-กย ร้อยละของผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ที่ยังไม่ได้รับยาต้านและรับยาต้านไวรัสแล้วได้รับการตรวจ CD4 ปีละ2ครั้งห่างกัน 6 เดือน ร้อยละ 90 70 n=67 100 n=74 75 n=97 93.47 N=184 93.15 N=190
กราฟแสดงร้อยละการตรวจCD4ตามปีงบประมาณ
บทเรียนที่ได้รับ เมื่อผลของการให้บริการไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด ผู้ให้บริการมักคิดว่าผู้ป่วยไม่สนใจ ไม่ให้ความร่วมมือ โดยขาดการวิเคราะห์ระบบบริการของตนเองว่าระบบที่มีเอื้อต่อการรับบริการของผู้ป่วยแค่ไหน และถ้าลองมาวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันโดยมีผู้รับบริการมาร่วมด้วย จะทำให้เราทราบว่า การดำเนินชีวิตและปัญหาของแต่ละคนแตกต่างกัน การแก้ไขปัญหาจึงต้องต่างกันด้วย ถ้าเรายึดหลักการให้บริการด้วยหลักของหัวใจความเป็นมนุษย์แล้ว จะต้องมีการยืดหยุ่นและปรับบริการให้เหมาะกับวิถีชีวิต ภายใต้หลักการที่ถูกต้องและได้มาตรฐานเท่าเทียมกัน เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกถึงความเข้าใจเห็นใจ และมีพลังที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป ฉะนั้น การปรับระบบการให้บริการให้เข้ากับวิถีชีวิต โดยใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การติดต่อกับทีมงาน นางวัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางวัชรี แก้วงาม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ คลินิกฟ้าใส กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลโป่งน้ำร้อน โทรศัพท์ / E-mail 08-1293-9671 / w_kaewngam@hotmail.com