การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดตราด ผลการเฝ้าระวังปี 2555.
Advertisements

01 COE ฐานข้อมูลชุมชนสุขภาวะต้นแบบ 500 ตำบล
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คณะทำงานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัส
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
Group Learning HIVQUAL-T Forum
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ ปี 2550
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ รพศ. ขนาด 562 เตียง.
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงานเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
25/07/2006.
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
เล่าเรื่องที่ประทับใจ
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
การให้คำปรึกษาแบบเข้มข้น
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การยุติปัญหาเอดส์ในประเทศไทย "Ending AIDS in Thailand"
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา สุพิชฌาย์ ถิรพุทธิ์เอกภพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่ เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์เป็นโรงพยาบาลขนาด 400 เตียง อยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ที่มีเหตุการณ์ความไม่สงบเกิดขึ้น โรงพยาบาลได้ดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รับการรักษาโดยยาต้านไวรัสประมาณ 500 กว่าราย มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่เฉลี่ย 130 ราย / ปี แต่ยังมีผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบการรักษาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง

การวิเคราะห์หาสาเหตุ การทำงานของแต่ละแผนกไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกัน ไม่มีหน่วยงานใดเป็นผู้ประสานข้อมูลของแต่ละฝ่ายก่อนเข้าถึง ARV คลินิก การรักษาซ้ำซ้อนเนื่องจากผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์บางรายปิดบังการติดเชื้อฯ กรณีผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่ถูกส่งต่อมารับการรักษา ข้อมูลการส่งต่อไม่ครบถ้วน ทำให้ต้องเจาะเลือดซ้ำ เช่นการตรวจ CD4 พยาบาลที่รับผิดชอบผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์โดยตรงมีน้อย มีภาระงานมากไม่สามารถติดตามผู้ป่วยอย่างทั่วถึง

การปรับเปลี่ยนระบบการทำงานที่เกิดขึ้น มีพยาบาลให้คำปรึกษาที่สามารถเข้าถึงผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ได้ทุกแผนก เข้าเยี่ยมผู้ป่วยที่เพิ่งตรวจพบการติดเชื้อฯ Post – counseling พูดคุยให้กำลังใจ / แนะนำขั้นตอนการรักษาเบื้องต้น / สอบถามสถานพยาบาลที่ต้องการรักษา / สิทธิการรักษา / การติดต่อ / การป้องกัน / การอยู่ร่วมกัน และการเปิดเผยผลเลือดกับคู่สามีภรรยา เป็นต้น พยาบาลติดตามผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ในการเตรียมและประเมินความพร้อมก่อนรับยาต้านไวรัส

การประเมินการเปลี่ยนแปลง รายละเอียด ปี พ.ศ. 2554 ปี พ.ศ. 2555 จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่ ( ราย ) 126 139 จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์สามารถติดตามลงทะเบียน ( ราย ) 62 ( 49.20 % ) 96 ( 69.06 % ) เสียชีวิต ( ราย ) จากจำนวนผู้ติดเชื้อฯที่ลงทะเบียน 28 ( 45.16 % ) 34 ( 35.41 % ) ส่งต่อรักษาโรงพยาบาลในเครือข่าย ( ราย )จากจำนวนผู้ติดเชื้อฯที่ลงทะเบียน 12 ( 19.35 % ) 28 ( 29.16% ) จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่เข้ารับการรักษาต่อเนื่อง ( ราย )จากจำนวนผู้ติดเชื้อฯที่ลงทะเบียน 16 ( 25.80 % ) 31 ( 32.29 % ) จำนวนผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่ไม่สามารถติดตามได้ 6 ( 9.67 % ) 3 ( 3.12 % )

เยี่ยมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ที่แผนกผู้ป่วยใน

ติดตามผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ก่อนรับยาต้านไวรัส

ติดตามดูแลเด็กที่ติดเชื้อฯรับการรักษา