การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู นิสาชล นาคทรัพย์และทีมงาน
รู้จักโรงพยาบาลห้วยพลู โรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง ต.ห้วยพลู อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม อำเภอนครชัยศรี มีโรงพยาบาลชุมชน 3 แห่ง โรงพยาบาลนครชัยศรี และโรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น ผู้ป่วยสามารถใช้สิทธิ์บัตรทองร่วมกันได้ทั้ง 3 โรงพยาบาล ศูนย์สุขภาพแผนไทยของโรงพยาบาลห้วยพลู ผลิตบุคลากรด้านแพทย์แผนไทย ผลิตภัณฑ์สุขภาพและยาแผนไทย ภายใต้วิสัยทัศน์โรงพยาบาล เป็นโรงพยาบาลชุมชนชั้นนำ ให้บริการการแพทย์แผนไทยดีเด่น
การให้บริการยาต้านไวรัสเอดส์ เป็นโรงพยาบาลชุมชนแห่งแรกในจังหวัดนครปฐม รับนโยบายการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ เมื่อ พ.ศ.2545 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์คงเดช ลีโทชวลิต ผู้อำนวยการโรงพยาบาลห้วยพลู เป็นผู้รับนโยบาย นายแพทย์มนตรี บุญญเลสนิรันตร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลห้วยพลู ผังโครงสร้าง คลินิก ARV กลุ่มงานยุทธศาสตร์โรงพยาบาล
ทีมผู้ให้บริการ คณะกรรมการพัฒนาการดูแลรักษาโรคเอดส์ (ผอ.เป็นประธาน) ทีมผู้รับผิดชอบการดูแลรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ 5 ด้าน พยาบาลผู้รับผิดชอบงานโครงการCARE ผู้รับผิดชอบงานคลินิกวัณโรค พยาบาลผู้ให้การปรึกษา ก่อน-หลังตรวจเลือด ( OPD ER IPD LR )
การจัดบริการดูแล HIV คลินิก HIV+ARV (ให้การปรึกษาก่อนตรวจเลือด จนถึงการรักษาARV) TB with ADIS โครงการ CARE VCT
จำนวนผู้รับยา ARV ยอดรับยา ปัจจุบัน ตค.51 90 ราย
การพัฒนาคุณภาพ HA ตัวชี้วัด QA HIVQUAL-T
การพัฒนาคุณภาพ ตัวชี้วัด ปรับปรุงบริการ ความต้องการผู้ป่วย มาตรฐานการรักษา
ห้วยพลูปรับปรุงบริการอะไรบ้าง ระบบONE Stop Service( การยื่นบัตรOPD การตรวจเลือดห้องLab การรับยาห้องจ่ายยา ) การบันทึกข้อมูล แบบบันทึก สถานที่คลินิกARV ห้องคำปรึกษา สร้างทีมบุคลากรผู้ให้บริการ พยาบาล แพทย์ กลุ่มผู้ติดเชื้อ
โครงการพัฒนา โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการและบริการดูแลรักษา โครงการตรวจเร็ว รู้ไว ทันใจดูแล โครงการห้าคนห้านาทีกินยาดีชีวีสดใส โครงการ Adherence
แนวคิดการทำงานในมุมผู้ประสานงาน
5 ปี ของการทำงานเราได้อะไร....... การพูดคุยกับผู้ป่วย+ญาติ เราได้ ความเข้าใจ การทำงานร่วมกับทีมผุ้ทำการรักษา เราได้ มิตรภาพและเห็นข้อดี การพบเพื่อนทำงานเอดส์ เราได้ ประสบการณ์ตัวอย่างมากมาย การได้ในเรื่องเหล่านี้ เราได้ ปรับปรุงบริการอย่างต่อเนื่อง
ความจริง....ผู้ให้บริการ ภาระงานมากมาย ย่อมเป็นไปได้ยากที่จะจัดคลินิกยาต้านที่สมบูรณ์แบบตามมาตรฐาน ภายใต้ทรัพยากรจำกัด พยาบาลผู้ให้การปรึกษา+พยาบาลผู้ประสานงานคลินิก คือคนใกล้ชิดผู้ป่วยและผู้ให้บริการนำมาสู่แนวคิด 1. ต้องทำให้ทีมอยู่ในวงจรการักษาร่วมกันเพิ่มภาระงานโดยไม่เพิ่มภาระ 2. ต้องให้ทีมรู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญกับคลินิก 3. ผลงานและรางวัลเป็นของทีม 4. ผู้ป่วยรู้จักและให้ความสำคัญกับทีม
ผู้ช่วยให้มีวันนี้ของผู้ป่วย..ในโรงพยาบาลห้วยพลู ผู้อำนวยโรงพยาบาลห้วยพลู ทีมผู้ทำการรักษา สำนักงานควบคุมโรคที่4 ราชบุรี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ประสบการณ์จากงานเอดส์โรงพยาบาลอื่นๆ ผู้ป่วยทุกคน
สวัสดี โรงพยาบาลห้วยพลู ยังต้องพัฒนาอีกมากมาย ขอให้เราเป็นกำลังใจซึ่งกันและกัน สวัสดี