การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP 17 พฤศจิกายน 2551 สำนักบริหารสารสนเทศการประกัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หัวข้อ ภาพรวมการใช้โปรแกรม NAP ระบบรายงานโปรแกรม NAP การ Export ข้อมูลจากโปรแกรม NAP 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หัวข้อ ภาพรวมการใช้โปรแกรม NAP ระบบรายงานโปรแกรม NAP การ Export ข้อมูลจากโปรแกรม NAP 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การขอใช้งานโปรแกรม 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หน่วยงานที่สามารถขอใช้งานระบบ DMIS-HIV/AIDS ร.พ. ที่ให้บริการผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ เพื่อกรอกบันทึกข้อมูลการให้บริการที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ห้อง Lab สปสช.เขต, สสจ., สคร., และศูนย์อนามัย เพื่อตรวจสอบรายงานในเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีระบบอนุมัติสูตรยา และ Lab ที่เกี่ยวข้อง กรณี สคร. และ ศูนย์อนามัย สามารถมี user อยู่สองระดับคือ สำหรับผู้ให้บริการ ระดับหน่วยบริการ จะได้รับสิทธิ์เหมือนหน่วยบริการทั่วไป สำหรับนักวิชาการ ที่ต้องกำกับระดับเขต จะดูข้อมูลของหน่วยบริการอื่น ๆ ได้ แต่ ไม่สามารถเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลได้ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
สรุปขั้นตอนการขอใช้โปรแกรม DMIS โรงพยาบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คัดเลือกและส่งรายชื่อพร้อมข้อมูลเกี่ยวกับ HIV Manager / Coordinator หรือผู้ใช้ระดับอื่นๆ สปสช. สำนักบริหารจัดการโรคเฉพาะ (ทีมเอดส์) หรือ สปสช. เขตพื้นที่ พิจารณาอนุมัติการสร้างรหัสผ่านให้กับ HIV Manager / Coordinator ของโรงพยาบาล/หน่วยงาน ฝ่ายไอที (ส่วนกลางหรือเขต) สร้าง Username – Password ฝ่ายไอที แจ้ง Username – Password ให้กับ AIDS Manager / Coordinator ผ่านหน่วยงานต้นสังกัด 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
แบบฟอร์มการขอรหัสผ่าน รายละเอียดที่ต้องการ ชื่อ – สกุล เลขประจำตัวประชาชน โทรศัพท์ Email address ระบบแจ้งรหัสผ่านทาง Email สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือ บัตรข้าราชการ ลงนาม โดยผู้บังคับบัญชา ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่เกี่ยวกับงานเอดส์ เช่น เจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษา (VCT and Counseling เท่านั้น), HIV coordinator (ได้สิทธิ์ทั้งหมด), เจ้าหน้าที่ห้อง Lab, แพทย์ผู้อนุมัติสูตรยา, ผู้บริหาร เพื่อดูรายงาน เป็นต้น 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หรือคลิกปุ่ม “โครงการบูรณาการฯ” 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนรหัสผ่านได้เองผ่านหน้าแรกของโปรแกรม 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หัวข้อ “ข้อมูลความรู้” เพื่อดูหรือ Download ข้อมูลเกี่ยวกับ “ประกาศ”, “รายงาน”, “เอกสารเผยแพร่” ที่เกี่ยวข้อง 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ภาพรวมของระบบ โปรแกรม NAP โปรแกรม VMI ที่เชื่อมกับระบบ NAP Online offline (งดใช้ชั่วคราว เพราะเปลี่ยนโครงสร้างสูตรยา ARV) เชื่อมโยงกับระบบ VMI ขององค์การเภสัชกรรม กรอกบันทึกข้อมูล VCT การลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วย การรักษาติดตาม (ยา, Lab, Counseling) โปรแกรม VMI ที่เชื่อมกับระบบ NAP เภสัชกร ของหน่วยบริการ ใช้เพื่อการเบิกยาผ่านองค์การเภสัชกรรม 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
HIV/Aids VMI Download Monitor On-line op NAP number Registration DMIS Induction & Follow up op Download interface Monitor NAP program ณ ร.พ. VMI NAP Offline การจ่ายชดเชย 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การส่ง/กระจายข้อมูล ประเทศ เขต รพ. สปสช. จังหวัด ¦¡ . 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
บริการตามสิทธิประโยชน์ บริการสำหรับกลุ่มเสี่ยง การบริการให้คำปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจ (VCT) การให้บริการถุงยางอนามัย บริการสำหรับผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ การลงทะเบียนผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือ ผู้ป่วยเอดส์ บันทึกการรักษาและติดตามผล (Follow up) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) การให้คำปรึกษา (Counseling) สิทธิประโยชน์ใหม่ปี 52 กรณีป้องกันการติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก กรณีป้องกันการติดเชื้อ หลังสัมผัสเชื้อ เช่น ข่มขืน, เข็มตำ เป็นต้น 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การดำเนินงานที่สำคัญ หน่วยบริการกรอกและบันทึกข้อมูลต่อไปนี้ VCT กลุ่มเสี่ยง (ไม่แยกสิทธิ) ลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ (HIV +) ทุกรายในระบบ เพื่อรับ NAP number สำหรับใช้อ้างอิงแทนชื่อ-สกุลต่อไป และไม่จำเป็นต้องกินยา ARV แล้ว (เบิกค่าบริการ ได้ตามสิทธิการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยเอง) Follow up ยา: ARV, ยาลดไขมัน, ยา OI Lab: Bl. Chemistry, CD4, Viral Load, Drug Resistance การติดเชื้อฉวยโอกาส (OI) Counseling กรณีป้องกันการติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก หลังสัมผัสเชื้อ เช่น ข่มขืน, เข็มตำ เป็นต้น ระบบให้บริการข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายงาน Export Data ที่สำคัญ สำหรับหน่วยบริการนำใช้ต่อไป เช่น AIDSOI, HIVQUAL-T 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
สรุปกระบวนการทำงานที่สำคัญ กลุ่มเสี่ยง VCT ID VCT HIV (+) HIV (-) ลงทะเบียน NAP number ให้คำแนะนำ ให้คำแนะนำ Lab, Drug Counseling Follow-up Automatic link to VMI Export Data AIDSOI HIVQUAL-T เสียชีวิต? No Yes หมายเหตุ: ผู้ป่วยลงทะเบียนได้เพียงครั้งเดียว (มี NAP number เดียวเท่านั้น ไม่ว่าจะเปลี่ยนแปลงสิทธิการรักษาพยาบาลอย่างไรก็ตาม) จบ Report 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เมนูการทำงานหลักของโปรแกรม การให้คำปรึกษา VCT กรณีนิรนาม กรณีแสดงตน ลงทะเบียนผู้ติดเชื่อ/ผู้ป่วยเอดส์ การรักษาและติดตามผล บันทึกการรักษาและติดตามผล การให้คำปรึกษา (Counseling) การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การขอเปลี่ยนสูตรยา ARV การอนุมัติขอเปลี่ยนสูตรยา ARV ค้นหาประวัติ หมายเหตุ: สำหรับ Counselor เจ้าหน้าที่ Lab กรณีหน่วยบริการต้องการให้ทำงานได้เหมือน HIV Co ขอให้แจ้งมาในหนังสือขอ username ด้วย 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เมนูการทำงานหลัก จำแนกตามประเภทผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยง ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ การให้คำปรึกษา VCT กรณีนิรนาม กรณีแสดงตน การตรวจการติดเชื้อ HIV การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ลงทะเบียนผู้ติดเชื่อ/ผู้ป่วยเอดส์ การรักษาและติดตามผล บันทึกการรักษาและติดตามผล การให้คำปรึกษา (Counseling) การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น ๆ การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การขอเปลี่ยนสูตรยา ARV การอนุมัติขอเปลี่ยนสูตรยา ARV ค้นหาประวัติ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เมนูการทำงานหลัก สำหรับ “กลุ่มเสี่ยง” เท่านั้น กรณี “นิรนาม” บันทึกเพื่อออกรายงานเท่านั้น ไม่มีการจ่ายชดเชย จำเป็นต้องกรอก VCT ก่อนส่ง Anti HIV เสมอ การให้คำปรึกษา VCT กรณีนิรนาม กรณีแสดงตน ต้องส่ง หลังจากกรอก VCT ต้องส่ง ก่อน “ลงทะเบียน” เสมอ (ถ้า positive) หาก เคยมีผล Anti HIV บวก หรือ เคยลงทะเบียนได้ NAP number จะ “หมดสิทธิ์เบิกค่าตรวจ” แม้ว่าจะไม่เคยเบิกค่าตรวจเลยก็ตาม การตรวจการติดเชื้อ HIV การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เมนูการทำงานหลัก สำหรับ “ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์” ทำครั้งเดียวเพื่อรับ NAP number ยังไม่เกี่ยวข้องกับการจ่ายชดเชยใด ๆ ลงทะเบียนผู้ติดเชื่อ/ผู้ป่วยเอดส์ การรักษาและติดตามผล บันทึกการรักษาและติดตามผล การให้คำปรึกษา (Counseling) การป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก กรอกทุกครั้งที่ FU ใช้ในการจ่ายชดเชยตามผลงานการให้บริการ, ยา ARV, ยาลดไขมัน ถ้าเปลี่ยนสูตรยา ARV ต้องกรอก “ขอเปลี่ยนสูตรยา” และ “อนุมัติ”ก่อนเสมอ การขอเปลี่ยนสูตรยา ARV ต้อง “ขอเปลี่ยนสูตรยา ARV” ทุกครั้งเมื่อเปลี่ยนสูตรยา ไม่ว่าสูตรใด ๆ ก็ตาม เฉพาะรายการที่ “อนุมัติ” จะมีสูตรยา ARV ที่อนุมัติแสดงใน FU ครั้งต่อไป 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เมนูการทำงานหลัก สำหรับ “ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์” กรอกเฉพาะ เมื่อต้องการ ส่ง Lab: CD4, VL, DR, BL Chem. “ส่ง” เพื่อสร้างใบ Lab ล่วงหน้าได้ <= 30 วัน ก่อนวันส่งจริง (โดยให้เลือกวันที่ส่งตามจริง) การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การอนุมัติการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ เฉพาะที่เข้าเกณฑ์ แต่เกิน “สิทธิ” ที่ได้รับ โดย สปสช. เขตนำผลมาบันทึก เฉพาะยากลุ่ม C, D, E โดย Expert หรือ สปสช. เขต นำผลมาบันทึกให้ การอนุมัติขอเปลี่ยนสูตรยา ARV 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ข้อมูลที่ใช้ในการอ้างอิง กรณีกลุ่มเสี่ยง เลขประจำตัวประชาชน VCT ID เมื่อเคยได้รับบริการ VCT แล้ว กรณีกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ NAP number การเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ ทุกกรณี ใช้ “สิทธิการรักษาพยาบาล ณ วันที่รับบริการ” 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ความถี่ในการกรอกข้อมูล โดยหลักการ ควรกรอก หรือ ส่งข้อมูลลงสู่ระบบ Online เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อช่วยให้การเบิกยา ARV และการจ่ายชดเชยที่เกี่ยวข้อง เป็นไปตามรอบที่กำหนด ไม่ล่าช้า กรณี การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การส่งข้อมูลรวดเร็ว จะช่วยรักษาสิทธิการเบิกจ่ายค่าตรวจ ในกรณี มีการส่งตรวจซ้ำ เพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการติดตามการให้บริการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หลักการทำงานทั่วไป เลือกเมนูหลักที่ต้องการทำงาน คลิกปุ่ม “ค้นหา” เพื่อค้นหาตามเงื่อนไขที่เลือก คลิกปุ่ม “เพิ่ม” เพื่อเพิ่มข้อมูลของเมนูนั้น ๆ ในการ “เพิ่ม” จะเริ่มต้นจากการ “ค้นหา” ข้อมูลประชากร และ สิทธิการรักษา ณ วันที่ให้บริการทุกครั้ง โดยให้ระบุ “เลขประจำตัวประชาชน” (เฉพาะ “ลงทะเบียน”, VCT, ส่งตรวจการติดเชื้อ) หรือ “NAP number” และ “วันที่ให้บริการ” โปรแกรมทำการตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นตามเงื่อนไขที่กำหนด และ แสดง “ข้อความเตือน” ที่เกี่ยวข้องให้ทราบ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หลักการทำงานทั่วไป (ต่อ) การคลิกปุ่ม “บันทึก” เพื่อปัองกันการบันทึกข้อมูลผิดพลาด ดังนั้น โปรแกรมจะมีหน้า “แสดงผล” ให้ผู้ใช้ตรวจสอบ และคลิกปุ่ม “ยืนยัน” ทุกครั้ง ก่อนที่จะทำการบันทึกข้อมูลเข้าระบบ ไม่ควร คลิกปุ่ม “Back” หรือเลือกเมนูอื่นเพื่อทำงานอื่นต่อไป โดยไม่ได้คลิก “ยืนยัน” เพราะจะทำให้ข้อมูลที่กรอกไว้ ไม่ได้รับการบันทึก 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
แนวทางการกรอกข้อมูล VCT เฉพาะผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อ HIV เฉพาะกลุ่มเสี่ยง ให้ระบุประเภทของกลุ่มเสี่ยง (ไม่รวม ANC, ตรวจก่อนผ่าตัด เพราะรวมในสิทธิประโยชน์ปกติของ UC อยู่แล้ว) ระบุประเภทของการให้คำปรึกษา และหัวข้อที่ให้คำปรึกษา มีการจำกัดจำนวนครั้งของ VCT ต่อคนต่อปี จำนวนครั้งที่เกินกำหนด ให้ผู้รับบริการจ่ายเอง ใช้ VCT ID เป็นเลขอ้างอิง ในการค้นหา ติดตามผลเลือก 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
กรณีป้องกันการติดเชื้อ หลังสัมผัสเชื้อ ปรับปรุงเมนู “การให้คำปรึกษา VCT” เพื่อให้รองรับการจ่ายยา ARV เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังสัมผัสเชื้อ หลักการทำงานเหมือนการบันทึกหน้า “การให้คำปรึกษา VCT” ทั่วไป แตกต่างกันที่ ให้เฉพาะ มีส่วนบันทึกการจ่ายยา ARV เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HIV หลังสัมผัสเชื้อ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การเริ่มต้นกรณีรายใหม่ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP) ลงทะเบียน
เริ่มต้นกรณีผู้ป่วยเก่า HIV + 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ขั้นตอนการลงทะเบียน ตรวจสอบสิทธิ์การรักษาพยาบาล ตรวจวินิจฉัย ลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในโปรแกรม DMIS NAP number (National AIDS Program) วันที่ลงทะเบียน (วันที่เริ่มรักษา ซึ่งสามารถย้อนหลัง ได้) กรอกข้อมูลพื้นฐานและการวินิจฉัยเบื้องต้น หมายเหตุ: ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ทุกราย ต้องผ่านการลงทะเบียน และได้รับ NAP number จากระบบ เพื่อใช้อ้างอิงในกรอกข้อมูล FU และการเบิกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ต่าง ๆ ต่อไป 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
แนวทางการลงทะเบียน ลงทะเบียนรายใหม่ รายเก่า จากระบบเดิม ระบบรับทุกสิทธิ์ แต่รับเข้าโครงการ UC เฉพาะสิทธิ UC เท่านั้น รับยา ที่หน่วยบริการประจำ หรือ หน่วยบริการภายในจังหวัดที่ลงทะเบียน รายเก่า จากระบบเดิม อนุโลมให้ รับยา ต่อเนื่อง ณ หน่วยบริการเดิม หากจะย้ายหน่วยบริการที่จะรับยา ต้องเข้าระบบปกติ คือ ณ หน่วยบริการประจำ หรือ หน่วยบริการภายในจังหวัดที่ลงทะเบียน 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การรักษาความลับของข้อมูล ผู้ใช้ไม่สามารถค้นหา NAP number จาก เลขประจำตัวประชาชนได้ ทุกรายการที่ทำการบันทึกเข้าระบบ จะมีการ encrypted PID ทำให้ แม้แต่ฝ่ายไอทีผู้บริหารฐานข้อมูล ก็ไม่สามารถดูข้อมูล PID จากฐานข้อมูลโดยตรงได้ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย จะเห็นได้ผ่านโปรแกรม โดยใช้รหัสผ่านของหน่วยงานที่รับผิดชอบเท่านั้น ดังนั้นขอให้ User ทุกท่าน รักษา username และ password ให้เป็นความลับ ห้ามให้ผู้อื่นใช้ร่วม หากมีผู้ใช้เพิ่มเติม ให้ขอรหัสผ่านเพิ่มได้ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การบันทึกการรักษาติดตามผล (Follow up) 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
บันทึกการรักษาติดตามผล 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เริ่มต้นจากการค้นหา “สิทธิการรักษาพยาบาล” ณ วันที่ลงทะเบียน โดยใช้ “NAP number” และ “วันที่เข้ารับบริการ” 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
โปรแกรมบังคับให้ข้อมูลที่จำเป็น ช่วยเพิ่มความสมบูรณ์ของข้อมูล 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
“การรับยา ARV” เป็น สถานะที่โปรแกรมอ่านให้อัตโนมัติ กรณีกรอกข้อมูลยา ARV ใน FU ครั้งแรกในโปรแกรมนี้ ให้คลิก “เลือกสูตรยา” และค้นยาชื่อยาที่ต้องการ โดยให้ใช้สูตรเดิมที่ผู้ป่วยใช้อยู่ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
สามารถเลือก รายการยาของสูตรนั้นได้ตามต้องการ เลือกรายการยา สามารถเลือก รายการยาของสูตรนั้นได้ตามต้องการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
กรอก “ปริมาณ mg ยาต่อครั้ง” “จำนวนครั้งต่อวัน” “จำนวนสัปดาห์” โปรแกรมคำนวณ “ปริมาณยาที่จ่ายให้ (ขวดหรือแพ็ค)” 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การบันทึกข้อมูลในทุกส่วนของโปรแกรม จะมีหน้าแสดง ยืนยันการบันทึกข้อมูลเสร็จแล้ว หรือแสดง ตัวเลขอ้างอิงต่าง ๆ ที่โปรแกรมสร้างให้อัตโนมัติ เพื่อเป็นการ “ยืนยัน” การบันทึกข้อมูลแล้วเสมอ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การค้นหาข้อมูล FU สามารถค้นหา “ครั้งล่าสุด” หรือ “ทั้งหมด” 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
คลิก “ดูข้อมูลการรักษาทั้งหมด” เพื่อแสดงผลการให้รักษาทั้งหมด 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
แสดงประวัติการตรวจรักษาทั้งหมด 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
กรณีป้องกันการติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
กรณีป้องกันการติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
กรณีป้องกันการติดเชื้อ จากแม่สู่ลูก 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ จำกัดจำนวนครั้งของการตรวจ ต่อปี กรอกข้อมูลได้ทุกครั้งที่ตรวจ แต่ จ่ายตามเกณฑ์ กรณีต้องการตรวจเกินจำนวนครั้งที่กำหนด ต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจาก คกก. ที่กำหนด การจ่ายชดเชยค่าตรวจ จ่ายต่อครั้งของการตรวจ การนับครั้งการตรวจในระบบ จะนับจากการส่งตรวจที่ ยืนยันและกรอกผลการตรวจแล้วเท่านั้น (เนื่องจากอาจจะมีการส่งตรวจ แต่ไม่ตรวจ เช่น เลือดเสีย, เลือดไม่พอ เป็นต้น) ใช้ “สิทธิการรักษาพยาบาล ณ วันที่ส่งตรวจ” “เลขที่ใบส่งตรวจ” และ NAP number ในการอ้างอิง กรอกบันทึกผลการตรวจ Lab ได้โดย หน่วยบริการที่ส่งตรวจ หรือ หน่วยงานที่เป็นผู้ตรวจ ก็ได้ สามารถบันทึก “ส่งตรวจฯ” ได้ล่วงหน้า <= 30 วันก่อนวันนัดเจาะเลือด 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การอนุมัติการส่งตรวจ Lab กรณีที่ ผู้ป่วยสิทธิ์ UC และได้ใช้สิทธิ์การตรวจทางห้องปฏิบัติการตามที่กำหนด โปรแกรมจะ อนุมัติให้อัตโนมัติ กรณีการส่งไม่เข้าเกณฑ์ เช่น ผล VL < 2000 จะส่ง DR ไม่ได้ คือ “ไม่อนุมัติ” ถึงแม้ว่า จะไม่เคยส่ง DR ในปีนั้นก็ตาม แต่ถ้าส่งตรวจเกินสิทธิ์และแพทย์มีความเห็นว่าจำเป็นต้องตรวจเพิ่ม รายการส่งตรวจจะ “รออนุมัติ” จึงทำให้บันทึกผลไม่ได้ จนกว่า จะ “อนุมัติ” หรือ “ไม่อนุมัติ” เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในระดับเขตพื้นที่ เข้ามาพิจารณาการอนุมัติ การส่งตรวจเกินสิทธิ์ให้ กรณีที่ “อนุมัติ” สปสช. จะเป็นผู้จ่ายชดเชยค่าตรวจให้กับห้องปฏิบัติการที่ตรวจ แต่ในกรณีที่ “ไม่อนุมัติ” ผู้ป่วยต้องเป็นผู้จ่ายค่าตรวจเอง กรณีสิทธิอื่น ๆ โปรแกรมจะ อนุมัติอัตโนมัติ เพื่อให้หน่วยบริการบันทึกผล lab ได้ แต่ไม่เกี่ยวข้องกับการจ่ายชดเชยจาก สปสช. 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การบันทึกข้อมูลยา เภสัชกร ใช้ระบบ VMI เหมือนเดิม ข้อมูลที่ HIV Coordinator ต้องกรอก/บันทึก จำนวนยาที่จ่าย ควรประสานงานการกำหนดระยะเวลาบันทึกข้อมูลของหน่วยงานกับเภสัชกร สูตรยามีการบันทึกครั้งเดียวเมื่อเปลี่ยนสูตรยา รายละเอียดของยาที่จ่าย สามารถปรับได้ตามที่จ่ายจริงในแต่ละครั้ง รายการยา, ขนาดที่ใช้, จำนวนครั้งต่อวัน ระบบเชื่อมต่อข้อมูลกับระบบ VMI ให้อัตโนมัติ การเปลี่ยนสูตรยา อนุมัติอัตโนมัติ โดยแพทย์ผู้รักษา ซึ่งเป็นผู้มีสิทธิ์ ในการอนุมัติสูตรยาตามที่กำหนด อนุมัติ ผ่านการอนุมัติโดยแพทย์ผู้มีสิทธิ์ ทำการ log-in เข้ามาอนุมัติเอง อนุมัติ ผ่านการประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญ และบันทึกผลการอนุมัติ โดย สปสช. เขต หรือ คณะกรรมการ ระดับจังหวัด หรือ ระดับเขต ที่ได้รับสิทธิ์ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ประเภทของสูตรยา ARV แบ่งออกเป็น 2 หมวด สูตรพื้นฐาน แบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ A, B, C กลุ่ม A, B แพทย์ผู้รักษาเลือกได้โดยอิสระ ตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ กลุ่ม C ต้องผ่านการอนุมัติจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่กำหนด สูตรดื้อยา มี 1 กลุ่ม คือ D กลุ่ม D ต้องผ่านการอนุมัติจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่กำหนด กลุ่ม E เป็นสูตรยาอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนด ต้องผ่านการอนุมัติจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่กำหนด 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หัวข้อ ภาพรวมการใช้โปรแกรม NAP ระบบรายงานโปรแกรม NAP การ Export ข้อมูลจากโปรแกรม NAP 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
รายงาน กำหนดเงื่อนไขในการค้นหา หรือ จัดทำรายงานได้ รายหน่วยงาน รายสังกัด: จังหวัด, เขต, ประเทศ ตามสิทธิ์ของ user แต่ละระดับ เลือกช่วงเวลาที่ต้องการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ข้อจำกัดของรายงาน เป็นการสรุปข้อมูลทันที (Real time) จากระบบ ทำให้ได้รายงานที่แตกต่างกันขึ้นกับเวลาเปิดรายงาน จึงได้จัดทำรายงานภาพรวมรายเดือนให้ โดยระบบจะทำการสรุปให้ในทุกวันที่ 20 ของเดือนถัดไป และเพื่อให้สามารถนับรวมข้อมูลที่มีการกรอกย้อนหลังได้อีก จึงจะคำนวณให้ใหม่ตลอดปีงบประมาณอีกครั้งในวันที่ 20 ต.ค. 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
เลือกเมนู “การออกรายงานและแบบฟอร์มต่างๆ” เลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการ เช่น “การลงทะเบียน” เลือกชื่อรายงานที่ต้องการ เช่น ... 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
คลิกเลือก “ขอบเขตข้อมูล” ตามพื้นที่รับผิดชอบ คลิกเลือกเงื่อนไขอื่น ๆ ที่ต้องการ เช่น รหัสหน่วยบริการ, ช่วงเวลาที่ต้องการ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ถ้า Browser ที่ใช้เช่น Internet Explorer ได้ตั้งค่า Block pop-up อาจจะทำให้เปิดรายงานไม่ได้ ให้คลิกบนข้อความความเตือนที่ปรากฏ แล้วเลือก “Download File…” เพื่อทำการ download รายงานที่เปิดนี้ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ปรากฏข้อความเตือน หรือ สอบถามให้ผู้ใช้เลือกปุ่มตามที่ต้องการ เช่น Open, Save, Cancel 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ตัวอย่างรายงานที่เปิดจากโปรแกรม ซึ่งสามารถบันทึกไฟล์ในรูปแบบ Excel ได้ 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
หัวข้อ ภาพรวมการใช้โปรแกรม NAP ระบบรายงานโปรแกรม NAP การ Export ข้อมูลจากโปรแกรม NAP 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ผู้ใช้สามารถ Export ข้อมูลในพื้นที่รับผิดชอบ เป็น text ไฟล์ เพื่อนำไปวิเคราะห์หรือนำเข้าโปรแกรมอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น AIDSOI, HIVQUAL-T, บางตารางอาจจะให้เฉพาะข้อมูลระดับ “หน่วยบริการ” เท่านั้น เนื่องจากมีข้อมูลจำนวนมาก เช่น ตารางที่ 16 All FU 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ตาราง Export จาก NAP ข้อมูลการให้คำปรึกษา VCT หัวข้อพูดคุย VCT ข้อมูลทั่วไปลงทะเบียน ข้อมูลลงทะเบียนที่มีโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ข้อมูลการรักษาและติดตามผลครั้งล่าสุด ข้อมูลผู้ติดเชื้อที่ได้รับยา ARV และ OI ข้อมูลผู้ติดเชื้อที่ได้รับยา ARV และมีอาการข้างเคียงจากยา ข้อมูลผู้ติดเชื้อที่ได้รับยา ARV และยาลดไขมัน ข้อมูลผู้ติดเชื้อที่ได้รับยา ARV และได้รับยาป้องกัน OI ข้อมูลการส่งตรวจการติดเชื้อ HIV (Anti HIV, PCR) 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ตาราง Export จาก NAP (ต่อ) ข้อมูลการส่งตรวจ CD4 ข้อมูลการส่งตรวจ VL ข้อมูลการส่งตรวจ DR ข้อมูลการส่งตรวจ BL Chem ข้อมูลการขอเปลี่ยนสูตรยา ข้อมูลการรักษาและติดตามผลทั้งหมด (ยังไม่มี) ข้อมูลการให้คำปรึกษา Counseling (ยังไม่มี) 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การปรับปรุงโครงสร้าง Export ปรับปรุงตารางที่ 5 Last FU โดยเพิ่ม "วันนัดครั้งต่อไป", "Drug Adherence", HN, และ "สถานะของการรับยา“ เพิ่ม ตาราง 16 All FU โดยมีรูปแบบเหมือน Last FU เพิ่ม ตาราง 17 Counseling ข้อ 2, 3 ให้ดึง ทุกรายการของ NAP number ที่เคย FU ที่ รพ. นี้ (ดึงมาทั้งหมด แม้จะเป็นรายการของ รพ. อื่น) และ ให้เตรียมไว้สำหรับ user ระดับ รพ. เท่านั้น 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
ตัวชี้วัดสำหรับ HIVQUAL-T การติดตามผล CD4, VL โรคฉวยโอกาส ยาต้านไวรัส วัณโรค (ใน NAP มีแค่ มีหรือไม่ แต่ปี 52 กำลังจะเชื่อมกับ DMIS-TB ซึ่งจะมีผล culture และ CXR) โรคซิฟิลิส (ใน NAP ไม่มีข้อมูล) การดูแลหญิงติดเชื้อ Pap smear (ใน NAP ไม่มีข้อมูล) Gonorrhea (ใน NAP ไม่มีข้อมูล) PMTCT (เพิ่งเริ่มใน NAP ปี 52) 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)
การแจ้งปัญหา / ข้อเสนอแนะ ปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรม เช่น พบ error message สามารถติดต่อ IT Helpdesk โทร. 0 2831 4000 ต่อ 2500 หรือสายตรง 0 2831 4040 Email address : ithelpdesk@nhso.go.th ปัญหาเกี่ยวกับการแก้ไขข้อมูล, แนวทางในการปฏิบัติ และอื่น ๆ ติดต่อ HIV Coordinator ของ ร.พ. หรือ ทีมเอดส์ สปสช. โทร. 0 2831 4000 ต่อ 8400 Email address: aidscare@nhso.go.th 17/11/51 DMIS HIV/AIDS (NAP)