สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี พิจิตร
หน่วยงานสนับสนุน (สคร./สสจ.) ความสำเร็จ –มีเครื่องมือ (โปรแกรม) ที่วัดประเมินผลด้าน คุณภาพได้ชัดเจนและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ เครือข่ายได้ –มีครู ก ที่มีประสบการณ์ –มีเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ –มีงบประมาณสนับสนุน –บุคลากรทำงานด้วยใจรัก,เสียสละ,ทุ่มเทให้การ ทำงาน การประสานงานและติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ เป็นที่ปรึกษา
โอกาสพัฒนา –ขยายหน่วยบริการให้ครอบคลุมพื้นที่เขต 8 –พัฒนามาตรฐานความรู้ของครู ก / เครือข่าย เอดส์ –จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ –พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานสนับสนุน (สคร./สสจ.)
หน่วยบริการ จุดแข็ง –ผู้บริหารให้ความสำคัญและสนับสนุน –มีทีม PCT และสหวิชาชีพให้ความร่วมมือ –มีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอย่างต่อเนื่อง –มีเครือข่ายประสานงานที่ดีในหน่วยบริการ –หน่วยบริการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
หน่วยบริการ จุดแข็ง (ต่อ) –บุคลากรทำงานด้วยใจรัก,เสียสละ –บุคลากรมีศักยภาพ /ในการทำงาน /พัฒนางาน –สามารถให้บริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกสิทธิ –มีระบบการติดตาม การพัฒนาคุณภาพบริการอย่าง ต่อเนื่อง –มีแกนนำเครือข่ายผู้ติดเชื้อ
หน่วยบริการ จุดอ่อน –บุคลากรมีภาระงานมาก เปลี่ยนงานบ่อย –ยังมีครู ก ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ –บุคลากรขาดแรงจูงใจในการทำงาน/พัฒนางาน (ภาวะ Burn out)
หน่วยบริการ อุปสรรค –ผู้รับบริการ ขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ –สังคม Stigma for AIDS ทำให้ผู้ติดเชื้อเอดส์ไม่กล้าเปิดเผยตัว –เศรษฐกิจ สูญเสียรายได้ –ทัศนคติ/ความเชื่อที่ผิด
หน่วยบริการ โอกาส –มีหน่วยงานในพื้นที่ให้การสนับสนุน งบประมาณ อปท./อบจ./อบต./เทศบาล –มีสิทธิรองรับการให้บริการครอบคลุมทุกสิทธิ UC ประกันสังคม NAPHA EXTENSION
หน่วยบริการ โอกาสพัฒนา –พัฒนาศักยภาพเครือข่ายแกนนำผู้ติดเชื้อใน การดูแลสมาชิกกลุ่ม –เสริมสร้างระบบการประสานงานที่เข้มแข็งใน ทีม PCT/สหวิชาชีพ –จัดเวทีแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ –เสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงานแก่บุคลากร –Empowerment ผู้รับบริการให้เกิดความ ตระหนักในการมารับบริการ/ดูแลสุขภาพ
Best Practice