สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
ราชบุรี, สุพรรณบุรี นครปฐม, กาญจนบุรี
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
Point of care management Blood glucose meter
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี

หน่วยงานสนับสนุน ( สคร./ สสจ.) ความสำเร็จ ต้องเข้าใจ HIVQUAL – T คืออะไรและทำเพื่อ อะไร มีการดึงเอาหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามา พูดคุยและเน้นให้เห็นถึงเป้าหมายที่ต้องการของ ผู้ปฏิบัติงาน แล้วจึงนำเอา HIVQUAL – T เข้า ไปร่วมในการวิเคราะห์ เพื่อจะได้วัดคุณภาพของ งาน ทำให้ทราบปัญหาของทีมงานแล้วจึงหา ทางแก้ไขโดยการเพิ่มพันธมิตรการทำงานจาก แผนกต่างๆ ในรพ. การประสานงานและวิเคราะห์ปัญหาของแต่ละ หน่วยงาน แล้วประสานความช่วยเหลือเพื่อ แก้ไขปัญหา นำปัญหาเข้าที่ประชุมคณะทำงานเอดส์ มีครู ก. เป็นพี่เลี้ยงให้ความช่วยเหลือเป็นที่ ปรึกษาและหาข้อตกลงร่วมกัน

หน่วยงานสนับสนุน ( สคร./ สสจ.) โอกาสพัฒนา ทีมงานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน เปิดโอกาสให้ทุก หน่วยงานได้มีส่วนร่วมในการ ดำเนินงานและหาแนวทางร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนทั้งภายในและ ภายนอก ทั้งระดับพื้นที่ ระดับภาค ไปจนถึงระดับประเทศ

หน่วยบริการ จุดแข็ง มีการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพ ผู้รับผิดชอบมีการมุ่งมั่นและมีใจรักในการ ทำงาน มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง มีงบประมาณสนับสนุน มีการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง มีกลุ่มผู้ติดเชื้อที่เข้มแข็งช่วยสนับสนุนการ ดำเนินงานของบุคลากรในรพ. ระบบมีความเอื้ออำนวย

หน่วยบริการ จุดอ่อน Work load ในการคีย์ข้อมูลเนื่องจากมีผู้ป่วย มากขึ้น ระบบบริการ แพทย์เปลี่ยนบ่อย แนวทางการวินิจฉัยไม่เป็น แนวเดียวกัน ปัญหาความขัดแย้งในการทำงาน คนไข้ไม่มาตามนัด การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการบางแห่งไม่ เอื้ออำนวย ระยะเวลาในการประเมินผลของโปรแกรม HIVQUAL-T นานเกินไป

หน่วยบริการ ปัญหาอุปสรรค ระบบข้อมูลมีหลายระบบไม่ เชื่อมโยงกันเพิ่มภาระงานให้ ผู้ปฏิบัติงาน ข้อจำกัดของการใช้ยา สิทธิประโยชน์ของผู้ป่วยไม่นิ่ง สิทธิประโยชน์แตกต่างกัน การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ

หน่วยบริการ โอกาสพัฒนา มีงบประมาณสนับสนุนจาก หลายแหล่ง มีหลายองค์กรมาร่วมกันทำงาน มีการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง