ภาษาจาวาสคริปต์ ง 40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การเขียน Webpage ด้วย HTML
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
JavaScript.
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
PHP LANGUAGE.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ภาษา HTML เบื้องต้น เช่น Internet Explorer และ Netscape Navigator
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Hypertext Transport Protocol)
Creating Effective Web Pages
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
Introduction to php Professional Home Page :PHP
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
PHP.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การสร้างเว็บเพจ HTML.
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
Web Standard มาตรฐานเว็บ (web Standard) คือเทคโนโลยีที่องค์กร
การจัดการกับเหตุการณ์ Event Handling
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การทำซ้ำด้วยคำสั่ง while
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
DHTML ง40208 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเขียน JavaScript ในเว็บเพจ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นายวีระ คงกระจ่าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การจัดการแท็ก โดยใช้ Document Object Model : DOM ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
HTML, PHP.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
Web Application Programming
หน่วยที่ 11 คำสั่งในการจัดรูปแบบเอกสาร
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
หลักการเขียนเว็บไซต์
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
Object Oriented Programming : OOP
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
….WETCOME…. TO HOMEPAGE.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
9 บทที่ การใส่เทคนิคพิเศษด้วยสไตล์ชีท และ DHTML.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

องค์ประกอบที่ใช้ในการพัฒนา JavaScript  ECMAScript  Document Object Model (DOM)  Browser Object Model (BOM)

ECMAScript  มาตรฐานสำคัญที่กำหนดขึ้นเพื่อให้รูปแบบ การเขียนภาษาสคริปต์และการเรียกใช้ method ต่างๆเป็นไปในทิศทางเดียวกัน  ECMAScript ที่ใช้ในปัจจุบัน ( พ. ศ. 2550) เป็นฉบับที่ 3 มีชื่อว่า “ECMA-262”

Document Object Model (DOM)  วิธีการสร้างส่วนติดต่อกับภาษาและ แพลตฟอร์มด้วยวิธีการเชิงวัตถุ  อนุญาตให้โปรแกรมและสคริปต์ต่างๆ สามารถ เข้าถึงและควบคุมโครงสร้างเนื้อหาและสไตล์ ของเอกสาร HTML ได้ 

Browser Object Model (BOM)  วิธีการสร้างส่วนติดต่อกับโปรแกรมบราวเซอร์ ด้วยวิธีการเชิงวัตถุ  ทำให้สคริปต์เข้าถึงคุณลักษณะหรือ องค์ประกอบต่างๆของบราวเซอร์ เช่น จอภาพ status bar, หรือแม้กระทั่ง History ของ บราวเซอร์ได้

ความสามารถของ JavaScript  ช่วยลดภารการทำงานของ server เพราะ บราวเซอร์บนฝั่งไคล์เอนต์สามารถประมวลผล เองได้  มีกลไกในการตรวจสอบ การเปรียบเทียบ การ ตัดสินใจ การประมวลผลและสามารถสร้าง ฟังก์ชันได้เอง  สามารถใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอื่นๆได้ เช่น ActiveX, CGI, Plug-In และ Java โดยไม่ ขึ้นอยู่กับแพลตฟอร์มใด  สามารถเปลี่ยนรูปแบบของเอกสารจาก HTML เป็น DHTML (Dynamic HTML) ที่ สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้

ความสามารถของ JavaScript ( ต่อ )  ใช้งานได้ง่ายเพราะมีลักษณะเป็น interpreter แบบ text file ฝังอยู่ในเอกสาร HTML ดังนั้น จึงสามารถทำงานบนบราวเซอร์ได้ทันที โดย ไม่ต้องคอมไพล์โปรแกรมเหมือนกับภาษาจา วา  ใช้รูปแบบคำสั่งเหมือนกับภาษาจาวา ช่น คำสั่งเพื่อดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ ข้อความ รวมทั้งคำสั่งควบคุม ลำดับในการดำเนินงาน (Control Structure) เช่น IF, WHILE, และ FOR เป็นต้น  เรียนรู้ได้ง่าย เหมาะสำหรับนำไปใช้พัฒนา โปรแกรมบนระบบอินเตอร์เน็ตมากที่สุดภาษา หนึ่ง

ข้อจำกัดของ JavaScript  ไม่สามารถติดต่อหรือทำงานบนฝั่ง server เพื่อ เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูลฝั่ง server ได้  ไม่สามารถสร้าง interface หรือส่วนแสดง ผลต่างๆของเว็บได้  Java Script จะทำงานต่างกันบนแต่ละ บราวเซอร์

เตรียมพร้อมก่อนเขียน JavaScript  Text Editor ใช้ในการเขียนคำสั่งจะใช้อะไรก็ ได้ เช่น notepad หรือ editplus  บราวเซอร์ใช้สำหรับการแสดงผลการ ทำงานของภาษา JavaScript ในที่นี้จะใช้ Internet Explorer