สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ สินเชื่อวิสาหกิจ ชุมชน เพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร เพิ่มผลผลิตมัน สำปะหลัง / ข้าว / หวาย / โค / ไม้ดอกไม้ประดับ / การแปรูปผลผลิต 200 ราย 50 ราย พื้นที่ทั้งตำบล 112,779 ไร่ พื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน 33,889 ไร่ พื้นที่ที่มอบเอกสารสิทธิ์ 21,038 ไร่ 1,979 แปลง เกษตรกร 1,508 ราย ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กลุ่มชุดดินในเขต ส. ป. ก. ส่วน ใหญ่เป็นพื้นที่ดอนลูกคลื่นลอน ลาดเล็กน้อย ดินร่วนละเอียดลึก มากที่เกิดจากวัตถุ เนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึง เป็นกรดจัด การระบายน้ำดีหรือดี ปานกลาง ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,824.6 มิลลิเมตร / ปี ลักษณะทางกายภาพ ติดตามการทำประโยชน์ในที่ดิน เกษตรกร 1,362 ราย (90.31%) เกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์ ดังนี้ 1. มันสำปะหลัง 37.15% 2 ข้าว 24.60% 3. ไม้ผล 15.57% 4. เกษตรผสมผสาน 11.16% 5. ไม้ยืนต้น 9.32% 6. โคเนื้อ 1.40% 7. อื่นๆ 0.81% ปัญหาและความ ต้องการ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเกษตร ดินขาดธาตุอาหาร / อินทรียวัตถุ ขาดแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ด้านกายภาพ ผลผลิตทางการเกษตรต่ำ ขาดความรู้และทักษะ ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเกษตร ด้านปฏิรูปวิถีชีวิตเกษตรกร (Farmer Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย เปลี่ยนข้าวพันธุ์ดี เปลี่ยนมันสำปะหลัง พันธุ์ดี ปรับปรุงบำรุงดินใน แปลงหวาย ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มผลผลิตข้าว เพิ่มผลผลิตมัน สำปะหลัง เพื่อเพิ่มผลผลิตหวาย เพื่อเพิ่มผลผลิตและ แหล่งเรียนรู้ 67 ราย 50 ราย 3 แปลง โครงการขยายผลศูนย์ศึกษา พัฒนาภูพานฯ ด้านปฏิรูปการจัดการและพัฒนาที่ดิน (Land Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย ขุดสระน้ำเพื่อ การเกษตรพร้อมท่อ ระบายน้ำเข้าออก บ้าน ชมพูพาน เหนือ ม.16 ขุดลอกลำห้วยขี้หิน ก่อสร้างถังพักน้ำเพื่อ การเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตทาง การเกษตร และปศุสัตว์ เพื่อเพิ่มผลผลิตปศุ สัตว์ และผลผลิต ทางการเกษตร 29 ราย ไร่ 244 ราย ไร่ 60 ราย ไร่
สภาพทั่วไป ลักษณะทางกายภาพ พื้นที่ทั้งตำบล 112,779 ไร่ พื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน 28,532 ไร่ พื้นที่ที่มอบเอกสารสิทธิ์ 21,038 ไร่ 1,979 แปลง เกษตรกร 1,508 ราย ภูมิประเทศเป็นที่ราบเชิงเขา กลุ่มชุดดินในเขต ส. ป. ก. ส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ดอนลูกคลื่นลอนลาด เล็กน้อย ดินร่วนละเอียดลึกมากที่ เกิดจากวัตถุ เนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดิน เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด การ ระบายน้ำดีหรือดีปานกลาง ความ ลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ( กลุ่มชุดดิน ที่ 35 B / 35 C) ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,824.6 มิลลิเมตร / ปี
แผนที่แสดงกลุ่มชุดดิน ตำบลสร้างค้อ
ผลการสำรวจ (X-Ray) การทำประโยชน์ อาชีพ และรายได้เกษตรกร
ลงสีแยกตาม X-ray รายได้ของเกษตรกร
สีแดงรายได้ < 20,000 บาท
สีเหลืองรายได้ 20,000-50,000 บาท
สีเขียวรายได้ > 50,000 บาท
ลงสีแยกตามการประกอบอาชีพ ของเกษตรกร สีน้ำตาล : มันสำปะหลัง % สีน้ำเงิน : ผสมผสาน / พืช ( หวาย ) % สีแดง : ไม้ยืนต้น 9.32 % สีเหลือง : ข้าว % สีส้ม : โคเนื้อ 1.40 % สีเขียว : ไม้ผล %
สภาพปัญหาของ ชุมชน 3 R สภาพปัญหา 1. ด้านปฏิรูปการจัดการและ พัฒนาที่ดิน (Land Reform) ดินขาดธาตุอาหาร / อินทรีย์วัตถุ ขาดแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรในฤดู แล้ง 2. ด้านปฏิรูปวิถีชีวิตเกษตรกร (Farmer Reform) ผลผลิตทางการเกษตรต่ำ โรคพืชและแมลง ขาดความรู้และทักษะในการผลิต 3. ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ขาดเงินทุนหมุนเวียน ขาดการร่วมกลุ่ม
ศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 49 1 ราย ศูนย์เรียนรู้ฯ ปี ศูนย์เรียนรู้ฯ ครอบครัว ผาสุก 3 ราย ศูนย์เรียนรู้ฯ ปี 51 4 ราย ศูนย์เรียนรู้ฯ ปี ราย