การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
Graduate School Khon Kaen University
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
Statement of Cash Flows
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
มาตรการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55
แผน - ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1-2/2552
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
แผนงานจัดที่ดินทำกิน ปีงบประมาณ 2553
แผน - ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-3/2552 (1 ตุลาคม 2551 – 30 เมษายน 2552) สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน จังหวัดนครศรีธรรมราช.
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ธันวาคม กิจกรรมจังหวัดที่ Key in แผนงาน ไม่ถูกต้องหรือยังไม่ Key in ( เป็นครั้ง ที่ 2) 1. การจัดที่ดินเกษตรกรรม (472,500 ไร่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
เกษตรทฤษฎีใหม่.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับปรุงมะม่วงคุณภาพดีเพื่อการส่งออกมงคลธรรมนิมิต
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
มิติผลการปฏิบัติงาน (Performance) คะแนน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดิน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดินทำกิน พื้นที่ X-ray การรังวัด.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
คำขวัญประจำจังหวัด เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี การส่งเสริมการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตปฏิรูปที่ดิน 14 กุมภาพันธ์ 2550

การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี บริษัท บุญเอนก จำกัด วัตถุประสงค์ ผลิตเอทานอล เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง ที่ตั้ง อ. ปักธงไชย จ. นครราชสีมา วัตถุดิบ มันสำปะหลัง กำลังผลิต ระยะแรก 700,000 ลิตรต่อวัน ระยะสอง 1,050,000 ลิตรต่อวัน เริ่มผลิต ไตรมาสแรกปี 2551 14 กุมภาพันธ์ 2550

การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง บริษัท บุญเอเนก จำกัด 14 กุมภาพันธ์ 2550

วัตถุประสงค์ของโครงการไตรภาคี - สปก. ต้องการให้เกษตรกรใช้ประโยชน์พื้นที่เต็มที่ - เกษตรกรต้องการมีรายได้พอเพียงและยั่งยืน - ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องการผลผลิตเกษตรที่พอเพียง สมประโยชน์ทั้ง 3 ฝ่าย

โครงการไตรภาคี ผู้เล่น (Key Player) คือใคร เกษตรกร

- สปอนเซอร์ จัดสรรที่ให้เกษตรกร โครงการไตรภาคี Role ของ สปก. คืออะไร - สปอนเซอร์ จัดสรรที่ให้เกษตรกร Role ของผู้ประกอบการ คืออะไร - โค๊ช เทรนเนอร์

ทำไมเกษตรกรคือ Key Player โครงการไตรภาคี ทำไมเกษตรกรคือ Key Player โครงการไตรภาคีจะไม่ประสพความสำเร็จ เกษตรกรไม่ยึดการปลูกมันเป็นอาชีพหลัก รายได้ไม่พอเพียง ไม่รู้จะทำไปทำไม

รายได้เกษตรกรมันสำปะหลัง ปัจจุบัน โครงการไตรภาคี รายได้เกษตรกรมันสำปะหลัง ปัจจุบัน 5 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 15,000 บาท 10 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 30,000 บาท 20 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 60,000 บาท

คาดหวังรายได้เกษตรกรในอนาคต โครงการไตรภาคี คาดหวังรายได้เกษตรกรในอนาคต 5 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 37,500 บาท 10 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 75,000 บาท 20 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 150,000 บาท 40 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 300,000 บาท

ถ้าเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังเป็นอาชีพหลัก มีรายได้พอเพียง และยั่งยืน โครงการไตรภาคี ถ้าเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังเป็นอาชีพหลัก มีรายได้พอเพียง และยั่งยืน โครงการจึงจะประสพความสำเร็จ

ทำอย่างไรให้เกษตรกรยึดเป็นอาชีพหลัก โครงการไตรภาคี ทำอย่างไรให้เกษตรกรยึดเป็นอาชีพหลัก - ความต้องการผลผลิตที่มากเพียงพอ และต่อเนื่อง - ขายได้ราคาที่เป็นธรรม และพึงพอใจ - ได้รับส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตอย่างจริงจัง

เริ่มที่การจัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกร โครงการไตรภาคี เริ่มที่การจัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกร ปลูกมันสำปะหลังอยู่แล้ว ยังไม่เคยปลูกมันสำปะหลัง สภาพดิน ปริมาณน้ำ การขนส่ง

ผลที่ได้จากการจัดกลุ่มเกษตรกร โครงการไตรภาคี ผลที่ได้จากการจัดกลุ่มเกษตรกร วางแผนการช่วยเหลือและส่งเสริมได้ตรงจุด ประมาณการผลผลิตได้

ภารกิจที่ต้องสนับสนุน โครงการไตรภาคี ภารกิจที่ต้องสนับสนุน ภารกิจภาครัฐ เงินกู้จากกองทุน สปก. ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต ชลประทาน

ยืนยันการรับซื้อผลผลิต โครงการไตรภาคี ภารกิจภาคเอกชน ยืนยันการรับซื้อผลผลิต ราคาเป็นธรรม สมประโยชน์ทุกฝ่าย วิจัยและเพาะพันธ์มัน ที่เหมาะกับพื้นที่ ราคาต่ำ วิจัยและผลิตปุ๋ยราคาต่ำ วิจัยและผลิตเครื่องจักรอุตสาหกรรมการเกษตร แก้ปัญหาดินดาน

ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน โครงการไตรภาคี ยืนยันการซื้อผลผลิต ความต้องการมันสำปะหลังวันละ 4,000 ตัน ส่งถึงโรงงาน เริ่มการผลิตไตรมาสแรกปี 2551 ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน ความต้องการมันสำปะหลังเพิ่มเป็นวันละ 6,000 ตัน ในปี 2553 หรือปีละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านตัน

งานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว โครงการไตรภาคี งานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว - x-ray พื้นที่ตามแผน สปก.จังหวัด - ประชาสัมพันธ์ความช่วยเหลือ - รวบรวมเกษตรกรเข้าร่วมโครงการไตรภาคี - จัดกลุ่มเกษตรกรตามความพร้อม - จัดรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

สรุปผลงาน ในมุมมองของบริษัท โครงการไตรภาคี สรุปผลงาน ในมุมมองของบริษัท - ต้องการข้อมูลเพิ่ม - จัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกรให้ชัดเจนมากขึ้น - ประมาณการปริมาณมันสำปะหลังยังไม่ชัดเจน - แผนงานที่ดำเนินการอยู่อาจจะไม่ทันการณ์

ข้อเสนอปรับปรุงแนวทางการทำงาน โครงการไตรภาคี ข้อเสนอปรับปรุงแนวทางการทำงาน ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. เข้าใจความต้องการผลผลิตและกรอบเวลา ปรับกลยุทธ์ วิธีการ

ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. โครงการไตรภาคี ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. ภารกิจครอบคลุมเกษตรกรรมอื่นๆ ด้วย ต้องประสานกับหลายหน่วยงานภาครัฐ กำลังคนมีจำกัด

เข้าใจความต้องการผลผลิต และกรอบเวลา ที่แท้จริงคือ โครงการไตรภาคี เข้าใจความต้องการผลผลิต และกรอบเวลา ที่แท้จริงคือ ความต้องการมันสำปะหลังวันละ 4,000 ตัน ส่งถึงโรงงาน เริ่มการผลิตไตรมาสแรกปี 2551 ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน ความต้องการมันสำปะหลังเพิ่มเป็นวันละ 6,000 ตัน ในปี 2553 หรือปีละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านตัน

ให้ความสำคัญการสื่อสารระหว่างกัน โครงการไตรภาคี ปรับกลยุทธ์การทำงาน ให้ความสำคัญการสื่อสารระหว่างกัน ให้ความสำคัญการวางแผนร่วมกัน ให้ความสำคัญการรายงานผล

ร่วมมือและจัดหาความช่วยเหลือให้สอดคล้องกับความต้องการ (Synergy) โครงการไตรภาคี สิ่งที่คาดหวัง การประมาณการปริมาณมันสำปะหลังจากโครงการไตรภาคี เริ่มจากปีนี้ และปีต่อๆ ไป (Predictability) เกษตรกรต้องวางแผนและเริ่มปลูกมัน เดือนเมษายน พฤษภาคม 2550 มิฉะนั้นจะเสียโอกาส (Opportunity) ร่วมมือและจัดหาความช่วยเหลือให้สอดคล้องกับความต้องการ (Synergy) โครงการไตรภาคีเป็นโครงการระยะยาว ทำต่อเนื่อง (Long Term Plan)

ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้านความพร้อม โครงการไตรภาคี ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้านความพร้อม จัดตั้งศูนย์ประสานงานและส่งเสริมเพื่อเกษตรกร อำนวยการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน อำนวยความสะดวกการขอกู้เงินกองทุน สปก. ช่วยติดตามเร่งรัดการอนุมัติเงินกู้ จัดหาปุ๋ย ราคาต่ำ จัดหาต้นกล้า ราคาต่ำ ตั้งจุดรับซื้อใกล้เกษตรกร ลดต้นทุนการขนส่ง จ่ายเงินค่ามันสำปะหลังภายในวันนำส่ง ดำเนินการผ่าน สหกรณ์การเกษตร

ไม่เกิน 150,000 บาทอยู่ในอำนาจ สปท. จังหวัด โครงการไตรภาคี กองทุน สปก. ดอกเบี้ย 1% ต่อปี สมาชิกวิสาหกิจชุมชน ไม่เกิน 150,000 บาทอยู่ในอำนาจ สปท. จังหวัด ใช้เวลาพิจารณาไม่เกิน 30 วัน

ไม่ต้องการให้มีหนี้สูญจากสมาชิกโครงการไตรภาคี บริการการติดตามควบคุมการชำระหนี้เงินกู้ หักเงินรายได้ผลผลิต นำส่งชำระหนี้ สปก. โดยตรง หากเกษตรกรรักษาวินัยการกู้ยืม และไม่มีหนี้สูญ สปก. ให้ส่วนลดดอกเบี้ย 50% เหลือ 0.50% ต่อปี มีเงินกู้เพื่อการลงทุนขยายเพิ่มผลผลิต ต่อเนื่องทุกปี เกษตรกร “มืออาชีพ” ในโครงการเพิ่มขึ้น ผลผลิตจากโครงการเพิ่มขึ้น

ภาพรวมอนาคตเกษตรกรมันสำปะหลัง ในโครงการ โครงการไตรภาคี ภาพรวมอนาคตเกษตรกรมันสำปะหลัง ในโครงการ การเพิ่มผลผลิตต่อไร่จะมากขึ้นเรื่อยๆ อาชีพปลูกมันสำปะหลังจะให้ผลตอบแทนที่ดี รายได้เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100,000 บาทต่อครอบครัว ต่อปี เกษตรกรจะรู้จักการลงทุนเพื่อเพิ่มผลผลิต ยิ่งปลูกมาก รายได้ยิ่งมาก ความเป็นอยู่ที่ดี พอเพียง และยั่งยืน

โครงการไตรภาคี บทสรุป มีที่ดิน สปก. ไม่มีผู้ทำประโยชน์ พื้นที่น้อยเกินไป ทำประโยชน์ได้ไม่เพียงพอ ไม่สำเร็จ มีผู้ทำประโยชน์ มีพื้นที่น้อย ผลผลิตไม่มาก รายได้ไม่พอเพียง ไม่คุ้มเหนื่อย ไม่สำเร็จ มีผู้ประกอบการโรงงานเอทานอล มันสำปะหลังไม่พอเพียง ไม่คุ้มการลงทุน ไม่สำเร็จ