การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี การส่งเสริมการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตปฏิรูปที่ดิน 14 กุมภาพันธ์ 2550
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี บริษัท บุญเอนก จำกัด วัตถุประสงค์ ผลิตเอทานอล เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง ที่ตั้ง อ. ปักธงไชย จ. นครราชสีมา วัตถุดิบ มันสำปะหลัง กำลังผลิต ระยะแรก 700,000 ลิตรต่อวัน ระยะสอง 1,050,000 ลิตรต่อวัน เริ่มผลิต ไตรมาสแรกปี 2551 14 กุมภาพันธ์ 2550
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง บริษัท บุญเอเนก จำกัด 14 กุมภาพันธ์ 2550
วัตถุประสงค์ของโครงการไตรภาคี - สปก. ต้องการให้เกษตรกรใช้ประโยชน์พื้นที่เต็มที่ - เกษตรกรต้องการมีรายได้พอเพียงและยั่งยืน - ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องการผลผลิตเกษตรที่พอเพียง สมประโยชน์ทั้ง 3 ฝ่าย
โครงการไตรภาคี ผู้เล่น (Key Player) คือใคร เกษตรกร
- สปอนเซอร์ จัดสรรที่ให้เกษตรกร โครงการไตรภาคี Role ของ สปก. คืออะไร - สปอนเซอร์ จัดสรรที่ให้เกษตรกร Role ของผู้ประกอบการ คืออะไร - โค๊ช เทรนเนอร์
ทำไมเกษตรกรคือ Key Player โครงการไตรภาคี ทำไมเกษตรกรคือ Key Player โครงการไตรภาคีจะไม่ประสพความสำเร็จ เกษตรกรไม่ยึดการปลูกมันเป็นอาชีพหลัก รายได้ไม่พอเพียง ไม่รู้จะทำไปทำไม
รายได้เกษตรกรมันสำปะหลัง ปัจจุบัน โครงการไตรภาคี รายได้เกษตรกรมันสำปะหลัง ปัจจุบัน 5 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 15,000 บาท 10 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 30,000 บาท 20 ไร่ 3 ตันต่อไร่ 1,000 บาทต่อตัน รายได้ 60,000 บาท
คาดหวังรายได้เกษตรกรในอนาคต โครงการไตรภาคี คาดหวังรายได้เกษตรกรในอนาคต 5 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 37,500 บาท 10 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 75,000 บาท 20 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 150,000 บาท 40 ไร่ 5 ตันต่อไร่ 1,500 บาทต่อตัน รายได้ 300,000 บาท
ถ้าเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังเป็นอาชีพหลัก มีรายได้พอเพียง และยั่งยืน โครงการไตรภาคี ถ้าเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังเป็นอาชีพหลัก มีรายได้พอเพียง และยั่งยืน โครงการจึงจะประสพความสำเร็จ
ทำอย่างไรให้เกษตรกรยึดเป็นอาชีพหลัก โครงการไตรภาคี ทำอย่างไรให้เกษตรกรยึดเป็นอาชีพหลัก - ความต้องการผลผลิตที่มากเพียงพอ และต่อเนื่อง - ขายได้ราคาที่เป็นธรรม และพึงพอใจ - ได้รับส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตอย่างจริงจัง
เริ่มที่การจัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกร โครงการไตรภาคี เริ่มที่การจัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกร ปลูกมันสำปะหลังอยู่แล้ว ยังไม่เคยปลูกมันสำปะหลัง สภาพดิน ปริมาณน้ำ การขนส่ง
ผลที่ได้จากการจัดกลุ่มเกษตรกร โครงการไตรภาคี ผลที่ได้จากการจัดกลุ่มเกษตรกร วางแผนการช่วยเหลือและส่งเสริมได้ตรงจุด ประมาณการผลผลิตได้
ภารกิจที่ต้องสนับสนุน โครงการไตรภาคี ภารกิจที่ต้องสนับสนุน ภารกิจภาครัฐ เงินกู้จากกองทุน สปก. ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต ชลประทาน
ยืนยันการรับซื้อผลผลิต โครงการไตรภาคี ภารกิจภาคเอกชน ยืนยันการรับซื้อผลผลิต ราคาเป็นธรรม สมประโยชน์ทุกฝ่าย วิจัยและเพาะพันธ์มัน ที่เหมาะกับพื้นที่ ราคาต่ำ วิจัยและผลิตปุ๋ยราคาต่ำ วิจัยและผลิตเครื่องจักรอุตสาหกรรมการเกษตร แก้ปัญหาดินดาน
ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน โครงการไตรภาคี ยืนยันการซื้อผลผลิต ความต้องการมันสำปะหลังวันละ 4,000 ตัน ส่งถึงโรงงาน เริ่มการผลิตไตรมาสแรกปี 2551 ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน ความต้องการมันสำปะหลังเพิ่มเป็นวันละ 6,000 ตัน ในปี 2553 หรือปีละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านตัน
งานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว โครงการไตรภาคี งานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว - x-ray พื้นที่ตามแผน สปก.จังหวัด - ประชาสัมพันธ์ความช่วยเหลือ - รวบรวมเกษตรกรเข้าร่วมโครงการไตรภาคี - จัดกลุ่มเกษตรกรตามความพร้อม - จัดรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สรุปผลงาน ในมุมมองของบริษัท โครงการไตรภาคี สรุปผลงาน ในมุมมองของบริษัท - ต้องการข้อมูลเพิ่ม - จัดกลุ่มความพร้อมของเกษตรกรให้ชัดเจนมากขึ้น - ประมาณการปริมาณมันสำปะหลังยังไม่ชัดเจน - แผนงานที่ดำเนินการอยู่อาจจะไม่ทันการณ์
ข้อเสนอปรับปรุงแนวทางการทำงาน โครงการไตรภาคี ข้อเสนอปรับปรุงแนวทางการทำงาน ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. เข้าใจความต้องการผลผลิตและกรอบเวลา ปรับกลยุทธ์ วิธีการ
ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. โครงการไตรภาคี ทำความเข้าใจขอบเขตการทำงานของ สปก. ภารกิจครอบคลุมเกษตรกรรมอื่นๆ ด้วย ต้องประสานกับหลายหน่วยงานภาครัฐ กำลังคนมีจำกัด
เข้าใจความต้องการผลผลิต และกรอบเวลา ที่แท้จริงคือ โครงการไตรภาคี เข้าใจความต้องการผลผลิต และกรอบเวลา ที่แท้จริงคือ ความต้องการมันสำปะหลังวันละ 4,000 ตัน ส่งถึงโรงงาน เริ่มการผลิตไตรมาสแรกปี 2551 ปีละไม่ต่ำกว่า 1.4 ล้านตัน ความต้องการมันสำปะหลังเพิ่มเป็นวันละ 6,000 ตัน ในปี 2553 หรือปีละไม่ต่ำกว่า 2 ล้านตัน
ให้ความสำคัญการสื่อสารระหว่างกัน โครงการไตรภาคี ปรับกลยุทธ์การทำงาน ให้ความสำคัญการสื่อสารระหว่างกัน ให้ความสำคัญการวางแผนร่วมกัน ให้ความสำคัญการรายงานผล
ร่วมมือและจัดหาความช่วยเหลือให้สอดคล้องกับความต้องการ (Synergy) โครงการไตรภาคี สิ่งที่คาดหวัง การประมาณการปริมาณมันสำปะหลังจากโครงการไตรภาคี เริ่มจากปีนี้ และปีต่อๆ ไป (Predictability) เกษตรกรต้องวางแผนและเริ่มปลูกมัน เดือนเมษายน พฤษภาคม 2550 มิฉะนั้นจะเสียโอกาส (Opportunity) ร่วมมือและจัดหาความช่วยเหลือให้สอดคล้องกับความต้องการ (Synergy) โครงการไตรภาคีเป็นโครงการระยะยาว ทำต่อเนื่อง (Long Term Plan)
ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้านความพร้อม โครงการไตรภาคี ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้านความพร้อม จัดตั้งศูนย์ประสานงานและส่งเสริมเพื่อเกษตรกร อำนวยการจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน อำนวยความสะดวกการขอกู้เงินกองทุน สปก. ช่วยติดตามเร่งรัดการอนุมัติเงินกู้ จัดหาปุ๋ย ราคาต่ำ จัดหาต้นกล้า ราคาต่ำ ตั้งจุดรับซื้อใกล้เกษตรกร ลดต้นทุนการขนส่ง จ่ายเงินค่ามันสำปะหลังภายในวันนำส่ง ดำเนินการผ่าน สหกรณ์การเกษตร
ไม่เกิน 150,000 บาทอยู่ในอำนาจ สปท. จังหวัด โครงการไตรภาคี กองทุน สปก. ดอกเบี้ย 1% ต่อปี สมาชิกวิสาหกิจชุมชน ไม่เกิน 150,000 บาทอยู่ในอำนาจ สปท. จังหวัด ใช้เวลาพิจารณาไม่เกิน 30 วัน
ไม่ต้องการให้มีหนี้สูญจากสมาชิกโครงการไตรภาคี บริการการติดตามควบคุมการชำระหนี้เงินกู้ หักเงินรายได้ผลผลิต นำส่งชำระหนี้ สปก. โดยตรง หากเกษตรกรรักษาวินัยการกู้ยืม และไม่มีหนี้สูญ สปก. ให้ส่วนลดดอกเบี้ย 50% เหลือ 0.50% ต่อปี มีเงินกู้เพื่อการลงทุนขยายเพิ่มผลผลิต ต่อเนื่องทุกปี เกษตรกร “มืออาชีพ” ในโครงการเพิ่มขึ้น ผลผลิตจากโครงการเพิ่มขึ้น
ภาพรวมอนาคตเกษตรกรมันสำปะหลัง ในโครงการ โครงการไตรภาคี ภาพรวมอนาคตเกษตรกรมันสำปะหลัง ในโครงการ การเพิ่มผลผลิตต่อไร่จะมากขึ้นเรื่อยๆ อาชีพปลูกมันสำปะหลังจะให้ผลตอบแทนที่ดี รายได้เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100,000 บาทต่อครอบครัว ต่อปี เกษตรกรจะรู้จักการลงทุนเพื่อเพิ่มผลผลิต ยิ่งปลูกมาก รายได้ยิ่งมาก ความเป็นอยู่ที่ดี พอเพียง และยั่งยืน
โครงการไตรภาคี บทสรุป มีที่ดิน สปก. ไม่มีผู้ทำประโยชน์ พื้นที่น้อยเกินไป ทำประโยชน์ได้ไม่เพียงพอ ไม่สำเร็จ มีผู้ทำประโยชน์ มีพื้นที่น้อย ผลผลิตไม่มาก รายได้ไม่พอเพียง ไม่คุ้มเหนื่อย ไม่สำเร็จ มีผู้ประกอบการโรงงานเอทานอล มันสำปะหลังไม่พอเพียง ไม่คุ้มการลงทุน ไม่สำเร็จ