โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548 เครือข่ายและการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาระบบราชการ “การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย” เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548 Created Date 19 กรกฎาคม 2548 เพื่อบรรยายให้กับ ผู้บริหารธนาคารกรุงเทพ จำกัด ในงาน Luncheon Roundtable ที่สำนักงานใหญ่ ธนาคารกรุงเทพฯ ปรับปรุงครั้งที่ 1 เมื่อ 9 กันยายน 2548 เพื่อบรรยายให้กับ สำนักงาน กพ. โครงการอบรมหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง : ผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ หัวข้อเรื่อง “มิติใหม่ของราชการพลเรือน” วันศุกร์ที่ 9 กันยายน 2548 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้อง 3104 ชั้น 1 อาคาร 3 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เอกชนมีส่วนร่วมกันปฎิรูประบบราชการ รัฐ รัฐปรับระบบที่มีขั้นตอน / พิธีการ / ซ้ำซ้อน เป็นระบบที่กระชับ / บริการเร็ว / เป็นธรรม ไม่ต้องใช้สิทธิพิเศษ เอกชนมีส่วนร่วมให้ความเห็นในการปรับปรุงและเข้าร่วมในกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐ เอกชนรับถ่ายโอนงานบริการบางส่วนไปทำ เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
รัฐ / เอกชน มีส่วนร่วมใน การลงทุน รัฐลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ระบบการศึกษา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เอกชนช่วยระดมทุน และ บริหารจัดการโครงการโดยรัฐเป็นผู้กำกับ ส่งเสริม ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ร่วมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ รัฐกระตุ้นเศรษฐกิจ ปรับปรุงกฎระเบียบเอื้อการแข่งขัน ชักนำการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยมุ่งส่งเสริมความรู้ทักษะ เทคโนโลยี ระบบตลาด ระบบขนส่ง เอกชนพัฒนาสินค้า บริการในราคา คุณภาพที่แข่งขันได้ เอกชนมีความคล่องตัว จากกฎระเบียบของรัฐ ศักยภาพในการ แข่งขันเพิ่มขึ้น เอกชนมุ่งปรับปรุงนวัตกรรมการผลิต การจัดการ เน้นคุณภาพ ลดต้นทุน รัฐ เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
รัฐ / เอกชน มีส่วนร่วมใน การเข้าสู่การค้าเสรี รัฐส่งเสริมให้มีการแข่งขันที่เกิดนวัตกรรม เครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) รัฐ-เอกชนร่วมมือเจรจาการค้าเสรีให้ได้เปรียบในภาพรวม / ลดการปกป้องอุตสาหกรรมที่ถดถอย เอกชนปรับปรุงศักยภาพ เพิ่มผลผลิต การจัดการให้ทันต่อการแข่งขัน ในตลาดโลก รัฐ เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
กลไก ความได้เปรียบในการแข่งขัน รัฐปรับปรุงกฏระเบียบ บรรยากาศการทำธุรกิจ รัฐ / เอกชนร่วมกันสร้างกลไกการแข่งขันใหม่ เช่น ระบบการศึกษา ถ่ายทอดเทคโนโลยี การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้างสารสนเทศ ทุนทางสังคมมีคุณภาพ ภาคเอกชน ผู้ปฏิบัติ มีความได้เปรียบในทุนทางสังคม เช่น คุณภาพของสังคม กฎระเบียบ ความรู้ ความสามารถเชิง บริหาร และนวัตกรรม รัฐ เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
กลยุทธ์ ความได้เปรียบในการแข่งขัน สร้างผู้ประกอบการใหม่ ส่งเสริมธุรกิจขนาดย่อม เอกชนเน้นสินค้า / บริการมีคุณภาพ ตอบสนองลูกค้า ได้ดีกว่า มีต้นทุนการผลิตที่คู่แข่งสู้ไม่ได้ รัฐ เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
การมีส่วนร่วมพัฒนาทุนมนุษย์ รัฐ รัฐพัฒนาทุนทางสังคม ทุนมนุษย์มีคุณภาพ สถาบันการศึกษา ชุมชนเข้มแข็ง นายจ้าง ลูกจ้าง ร่วมมือเรื่องธรรมาภิบาล ดูแลพนักงาน คุณธรรม วินัย จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม ให้ภูมิปัญญาโดยการเรียนรู้ ฝึกอบรมต่อเนื่อง เอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ประชาสังคม รัฐ เอกชน 1. กระจายรายได้ 2. เพิ่มขีดความสามารถใน เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีคุณภาพ และเสถียรภาพ สังคมมีศักยภาพ และน่าอยู่ จัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างสมดุล รัฐ เอกชน 1. กระจายรายได้ 2. เพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขัน 3. พัฒนาทุนทางสังคม 4. การพัฒนาที่ยั่งยืน 5. ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมสมดุล 1. เน้นลูกค้า กระจายงาน 2. เพิ่มคุณภาพ บริการ นวัตกรรม ผลิตภาพ 3. แรงงานมีความรู้ ฝีมือ 4. มีผลตอบแทนที่ยั่งยืน 5. มีจริยธรรมในธุรกิจ ความเชื่อมโยง เกาะเกี่ยวและความร่วมมือภาครัฐกับเอกชน ปรับปรุง 21-9-48 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน