กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย
การทำงานที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่ เราทำ คือ ประมง + ต่อเนื่องประมง - ยาต้านไวรัสก่อนมีโครงการ NAPHA-x มี NGO เข้า ไปดำเนินการเพื่อให้ MW เข้าถึงยาต้าน - เจ้าหน้าที่ภาครัฐและคนทำงานต้องมีความรู้เรื่อง HIV/AIDs,STIs - สถานบริการสุขภาพยังมีระบบในการให้บริการยังไม่ ดี / ไม่เอื้อให้แรงงานเข้ารับบริการ - แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำให้ เข้าไม่ถึงบริการสุขภาพต่างๆ รวมถึงบริการขั้น พื้นฐานอื่นๆ - ผู้ที่เข้าถึงบริการส่วนใหญ่มักจะเป็นผู้ป่วยที่มีอาการ หนักหรือยากต่อการรักษา
การทำงานที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่เราทำ คือ รอรับสิทธิจากคนไทย ( สวมสิทธิรักษาของคน ไทยในบางกลุ่ม เช่น ผู้ติดเชื้อที่ต้องรับยาต้าน ) เงื่อนไขทางด้านภาษาของผู้ให้บริการ สาธารณสุข ซึ่งแก้ไขโดยการสนับสนุนล่ามจาก NGO ในพื้นที่มีการส่งเสริมเพื่อให้แรงงานเข้าถึง บริการ มีระบบการส่งต่อระหว่างประเทศ ผ่าน MOU ( สร้างทางเลือกในการรักษา ) และมีการทำงาน ร่วมกับโครงการอื่น
การทำงานที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่เราทำ คือ เงื่อนไขโครงการในการจ่ายค่ารักษาหากไม่เป็น STIs จะไม่ครอบคลุม ให้คำแนะนำ / ปรึกษา ให้กับแรงงานข้ามชาติทั้ง ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ ลูกเรือมีการติดตามเพื่อรักษาต่อยาก STIs -- ประมง ข้อจำกัดพื้นที่ในการทำงานตามโครงการ
การทำงานที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่เราทำ คือ ชายแดน ไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อยาต้านไวรัส แรงงานเข้ามาเพื่อทำงาน เลยมองเรื่องสุขภาพเป็น เรื่องไกลตัว ให้ความรู้ / ทางเลือกในการดูแลตัวเอง มีโมบายคลีนิคในสถานที่ทำงาน พัฒนา อตส. ในพื้นที่ที่ปฏิบัติงาน / ผลักดันให้มีการ จัดจ้าง พสต. ในสถานบริการสุขภาพ มีการติดตามแรงงานค่อนข้างยาก ปรับทัศนคติกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ร่วมกับหน้วยงานที่เกี่ยวข้องบูรณาการร่วมกัน
แนวทางในอนาคต ผลักดันให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน บริการในพื้นที่ เช่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้าน กฎหมาย ด้านสุขภาพ ด้านนโยบาย พัฒนาระบบการส่งต่อแบบรัฐต่อรัฐ - เครือข่าย NGOs / เครือข่ายสุขภาพระหว่าง ประเทศ / พัฒนา แบบฟอร์มการส่ง ต่อ + เอกสาร - ผลักดันให้มีการแก้ไข พรบ. ที่เกี่ยวข้องกับการ จัดจ้าง พสต. - เสริมสร้าง / พัฒนาเครือข่ายแรงงานข้ามชาติเพื่อ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และการอยู่ร่วมกัน โดยชุมชน ( ไทย + แรงงาน )