สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวง สาธารณสุข รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ 2552 ระหว่างวันที่ มกราคม 2552 ( ข้อเสนอแนะ ) 1. ในการดำเนินงานเพื่อตอบตัวชี้วัด.
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1. แผนงาน PP จังหวัด ยังไม่ ตอบสนองปัญหาจริงของ จังหวัด แต่ละจังหวัดมีแผนที่ ชัดเจน และการใช้แผน แตกต่างกันมาก 2. การดำเนินงานจริง ไม่อิง ยุทธศาสตร์ /
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
โดย อารมณ์ ผิวดำ สพม.38 (สุโขทัย-ตาก)
กลุ่มที่ 11.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม และป้องกันโรค ปี 2555 เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม โดย นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 20 กันยายน 2555

วิธีและกระบวนการประเมิน กำหนดขั้นตอนสำคัญ วิเคราะห์สภาพปัญหา (Evidence Based) วางแผนยุทธศาสตร์ และเชื่อมลงสู่แผนปฏิบัติการ M&E กลไกและการจัดการ กำหนดตัวชี้วัดเชิงปริมาณ/คุณภาพ (ชี้แจง ทำความเข้าใจ) ลงพื้นที่ ประเมินตามกรอบ ตรวจสอบ หลักฐาน/ ข้อเท็จจริง

ข้อค้นพบตามประเด็นการประเมิน 1) การวิเคราะห์สภาพปัญหา บางจังหวัด ไม่มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาในภาพรวม แต่วิเคราะห์รายประเด็น มีบางจังหวัดวิเคราะห์ข้อมูลได้ดี บางจังหวัดไม่มีการ วิเคราะห์ข้อมูล ทำตามผู้บริหารสั่งการ มีการใช้ข้อมูลบ้าง แต่ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ มีกระบวนการในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา แต่บางจังหวัดใช้ความรู้สึกมากกว่าการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์

ข้อค้นพบ (ต่อ) 2) การวางแผนบูรณาการ แผนยุทธศาสตร์ ส่วนใหญ่มีการเชิญผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ส่วนใหญ่มีการแสดงภาพรวมทิศทางการพัฒนาและเป้าหมาย ส่วนมาก (เกือบทั้งหมด) ไม่แยกแผน P&P บางจังหวัดไม่มีการทำแผนยุทธศาสตร์ บางเขต/จังหวัด มีแผนหลายระดับ

2) การวางแผนบูรณาการ (ต่อ) แผนปฏิบัติการ ข้อค้นพบ (ต่อ) 2) การวางแผนบูรณาการ (ต่อ) แผนปฏิบัติการ ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีการเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการได้ดี ขาดการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผน กับลำดับความสำคัญ บางเขต/จังหวัดจัดทำโครงการ/กิจกรรมเพื่อตอบตัวชี้วัดจาก ส่วนกลางเท่านั้น ไม่มีโครงการ/กิจกรรมที่จำเพาะเจาะจงกับการ แก้ไขปัญหาของพื้นที่ ส่วนใหญ่มีการระบุจำนวน/แหล่งงบประมาณ ปัจจัยสำคัญ คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด

3) กลไกการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ข้อค้นพบ (ต่อ) 3) กลไกการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ส่วนใหญ่ มีกลไก : ระบบรายงาน ประชุม นิเทศ ขาดการวิเคราะห์ ความก้าวหน้าของงาน และการรายงานผลใน ภาพรวม

ข้อค้นพบ (ต่อ) 4) การบริหารจัดการ ทุกจังหวัดมีโครงสร้างผู้รับผิดชอบชัดเจน โดยกลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์ ของจังหวัดเป็นแกนหลัก แต่ยังขาดความเข้มแข็ง มีการแสวงหางบประมาณจากแหล่งต่างๆ - บางเขตทำแผนโดยเอาปัญหาเป็นตัวตั้ง แล้วจึงใส่งบประมาณ - บางเขตทำแผนล้อตามแหล่งงบประมาณ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางาน ส่วนใหญ่เป็น Issue Based การให้ความสำคัญของผู้บริหาร ส่วนน้อยที่ นพ.สสจ./ว มาดำเนินการ เอง

กระบวนการประเมิน ข้อดี : ช่วยกระตุ้นการทำแผนของจังหวัด ใช้กรอบการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนางาน P&P ข้อด้อย : การตีความ / นิยาม บางประเด็นของกรอบการประเมินต้องใช้รายละเอียดเชิงลึก ใช้ เวลาในการจัดเก็บ/ประเมิน ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เก็บยากต้องใช้เวลา ช่วงเวลา / ระยะเวลาออกประเมินมีน้อย ภาระของจังหวัด เมื่อมีการประเมินทับซ้อน

ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน P&P ผู้บริหารระดับพื้นที่ต้องให้ความสำคัญอย่างจริงจัง ให้กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์ของจังหวัดเป็นแกนหลักในการจัดทำ แผน และบริหารงบประมาณจากทุกแหล่ง ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลที่รอบด้าน ใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อ หาปัญหาพื้นที่ ส่วนกลางควรลดตัวชี้วัดลง ควรมีหน่วย/ผู้รับผิดชอบ วิเคราะห์และติดตาม ความสอดคล้อง ของแผนและผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการประเมิน 1.ควรชี้แจงการประเมินภายในไตรมาสที่ 2 2.ควรชี้แจงกรอบการประเมินให้จังหวัดรับทราบ แต่เนิ่นๆ 3.สร้างและพัฒนา ทีมประเมินให้เข้มแข็ง

สวัสดี