สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม และป้องกันโรค ปี 2555 เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม โดย นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ ที่ปรึกษาระดับกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) 20 กันยายน 2555
วิธีและกระบวนการประเมิน กำหนดขั้นตอนสำคัญ วิเคราะห์สภาพปัญหา (Evidence Based) วางแผนยุทธศาสตร์ และเชื่อมลงสู่แผนปฏิบัติการ M&E กลไกและการจัดการ กำหนดตัวชี้วัดเชิงปริมาณ/คุณภาพ (ชี้แจง ทำความเข้าใจ) ลงพื้นที่ ประเมินตามกรอบ ตรวจสอบ หลักฐาน/ ข้อเท็จจริง
ข้อค้นพบตามประเด็นการประเมิน 1) การวิเคราะห์สภาพปัญหา บางจังหวัด ไม่มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาในภาพรวม แต่วิเคราะห์รายประเด็น มีบางจังหวัดวิเคราะห์ข้อมูลได้ดี บางจังหวัดไม่มีการ วิเคราะห์ข้อมูล ทำตามผู้บริหารสั่งการ มีการใช้ข้อมูลบ้าง แต่ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ มีกระบวนการในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา แต่บางจังหวัดใช้ความรู้สึกมากกว่าการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
ข้อค้นพบ (ต่อ) 2) การวางแผนบูรณาการ แผนยุทธศาสตร์ ส่วนใหญ่มีการเชิญผู้เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม ส่วนใหญ่มีการแสดงภาพรวมทิศทางการพัฒนาและเป้าหมาย ส่วนมาก (เกือบทั้งหมด) ไม่แยกแผน P&P บางจังหวัดไม่มีการทำแผนยุทธศาสตร์ บางเขต/จังหวัด มีแผนหลายระดับ
2) การวางแผนบูรณาการ (ต่อ) แผนปฏิบัติการ ข้อค้นพบ (ต่อ) 2) การวางแผนบูรณาการ (ต่อ) แผนปฏิบัติการ ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีการเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการได้ดี ขาดการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผน กับลำดับความสำคัญ บางเขต/จังหวัดจัดทำโครงการ/กิจกรรมเพื่อตอบตัวชี้วัดจาก ส่วนกลางเท่านั้น ไม่มีโครงการ/กิจกรรมที่จำเพาะเจาะจงกับการ แก้ไขปัญหาของพื้นที่ ส่วนใหญ่มีการระบุจำนวน/แหล่งงบประมาณ ปัจจัยสำคัญ คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
3) กลไกการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ข้อค้นพบ (ต่อ) 3) กลไกการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ ส่วนใหญ่ มีกลไก : ระบบรายงาน ประชุม นิเทศ ขาดการวิเคราะห์ ความก้าวหน้าของงาน และการรายงานผลใน ภาพรวม
ข้อค้นพบ (ต่อ) 4) การบริหารจัดการ ทุกจังหวัดมีโครงสร้างผู้รับผิดชอบชัดเจน โดยกลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์ ของจังหวัดเป็นแกนหลัก แต่ยังขาดความเข้มแข็ง มีการแสวงหางบประมาณจากแหล่งต่างๆ - บางเขตทำแผนโดยเอาปัญหาเป็นตัวตั้ง แล้วจึงใส่งบประมาณ - บางเขตทำแผนล้อตามแหล่งงบประมาณ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางาน ส่วนใหญ่เป็น Issue Based การให้ความสำคัญของผู้บริหาร ส่วนน้อยที่ นพ.สสจ./ว มาดำเนินการ เอง
กระบวนการประเมิน ข้อดี : ช่วยกระตุ้นการทำแผนของจังหวัด ใช้กรอบการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนางาน P&P ข้อด้อย : การตีความ / นิยาม บางประเด็นของกรอบการประเมินต้องใช้รายละเอียดเชิงลึก ใช้ เวลาในการจัดเก็บ/ประเมิน ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เก็บยากต้องใช้เวลา ช่วงเวลา / ระยะเวลาออกประเมินมีน้อย ภาระของจังหวัด เมื่อมีการประเมินทับซ้อน
ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน P&P ผู้บริหารระดับพื้นที่ต้องให้ความสำคัญอย่างจริงจัง ให้กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์ของจังหวัดเป็นแกนหลักในการจัดทำ แผน และบริหารงบประมาณจากทุกแหล่ง ควรมีการวิเคราะห์ข้อมูลที่รอบด้าน ใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อ หาปัญหาพื้นที่ ส่วนกลางควรลดตัวชี้วัดลง ควรมีหน่วย/ผู้รับผิดชอบ วิเคราะห์และติดตาม ความสอดคล้อง ของแผนและผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการประเมิน 1.ควรชี้แจงการประเมินภายในไตรมาสที่ 2 2.ควรชี้แจงกรอบการประเมินให้จังหวัดรับทราบ แต่เนิ่นๆ 3.สร้างและพัฒนา ทีมประเมินให้เข้มแข็ง
สวัสดี