การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
เกณฑ์การจัดการเครือข่าย รพสต. 1 เครือข่าย มี รพ.สต. 2 แห่งขึ้นไป 1 เครือข่าย มี ประชากร 8,000 คน ขึ้นไป อยู่ในอำเภอเดียวกัน พื้นที่ห่างไกล พิจารณาตามความเหมาะสม
การจัดเครือข่าย รพ.สต. เมืองเพชรบุรี 9 เครือข่าย (23 รพ.สต) เมืองเพชรบุรี 9 เครือข่าย (23 รพ.สต) เขาย้อย 3 เครือข่าย (12 รพ.สต) หนองหญ้าปล้อง 2 เครือข่าย (8 รพ.สต) ชะอำ 4 เครือข่าย (13 รพ.สต)
การจัดเครือข่าย รพ.สต. (ต่อ) ท่ายาง 6 เครือข่าย (19 รพ.สต) บ้านแหลม 5 เครือข่าย (13 รพ.สต/1 ศท.) แก่งกระจาน 3 เครือข่าย (9 รพ.สต) รวม 32 เครือข่าย
แนวทางการบริหารจัดการเครือข่าย คน (บุคลากร) เงิน (งบประมาณ) ของ (วัสดุอุปกรณ์) การบริการ
คน ใช้บุคลากรร่วมกัน/ทีมสหวิชาชีพ มี Career Parth ให้กับหัวหน้าเครือข่าย หัวหน้าฯ เป็น ผช.สสอ.ด้านวิชาการ บุคลากรในสายวิชาชีพช่วยเหลือกันในเครือข่าย
คน (ต่อ) คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. วางแผนพัฒนา ให้คำปรึกษา แก้ปัญหาร้องเรียน ประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผอ.รพ.สต. ร่วมกับ สสอ.
เงิน (งบประมาณ) ลดค่าใช้จ่ายเรื่องทรัพยากรที่ซ้ำซ้อน ใช้งบประมาณร่วมกันในเครือข่าย ค่าอยู่เวร งานส่งเสริมป้องกัน มีเงินลงทุนมากขึ้น เป็นกลุ่มก้อน สามารถแก้ปัญหาใหญ่ ๆ ได้
ของ (วัสดุอุปกรณ์) ใช้ของร่วมกันได้ Autocrave Hct บ้านพัก รถ
การบริการ บุคลากรในสายวิชาชีพช่วยเหลือกัน ในเครือข่ายทั้งเชิงรุกและเชิงรับ
การคัดเลือกหัวหน้าเครือข่าย ผอ.รพ.สต. มีความพร้อมมากที่สุด บุคลากรจำนวนมากกว่า สถานที่มีความพร้อม มีเงินบำรุงมาก มีศักยภาพของทีมงาน
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าเครือข่าย บริหารจัดการเรื่อง คน เงิน ของ และการ บริการ ควบคุมกำกับติดตามการบริหารงานของ รพ. สต. ในเครือข่าย เป็น ผช.สสอ. ด้านวิชาการ งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย