การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง โรงพยาบาลบ้านลาด ณ 28 ธันวาคม 2550
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ.บ้านลาด ณ 28 ธันวาคม 2550
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ.บ้านลาด ณ 28 ธันวาคม 2550
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ.บ้านลาด ณ 28 ธันวาคม 2550
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ.บ้านลาด ณ 28 ธันวาคม 2550
เจ้าหนี้การค้า ณ 28 ธันวาคม 2550 เจ้าหนี้การค้า ณ 28 ธันวาคม 2550
ลูกหนี้ค่ารักษา ณ 28 ธันวาคม 2550 ลูกหนี้ค่ารักษา ณ 28 ธันวาคม 2550
การเปลี่ยนสภาพลูกหนี้สิทธิข้าราชการเบิกคลัง IPD,OPD/ เบิกต้นสังกัด เป็นเงินสด ปีงบประมาณ 2551
วิเคราะห์ต้นทุนบริการเปรียบเทียบ กันยายน2550 พระจอมเกล้า เขาย้อย หนองหญ้าปล้อง ชะอำ ท่ายาง บ้านลาด บ้านแหลม แก่งกระจาน รวม
เปรียบเทียบค่าใช้จ่าย กันยายน 2550 พระจอมเกล้า เขาย้อย หนองหญ้าปล้อง ชะอำ ท่ายาง บ้านลาด บ้านแหลม แก่งกระจาน รวม
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สถานะการณ์ด้านการเงิน 1. สภาวะสถานการณ์ด้านการเงินการคลังมีค่าระดับ 7 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ ปกติ 2. I/E = 1.12 ปกติ (สามารถควบคุมรายรับและรายจ่ายได้) 3. Profitabillity Ratio = 15.10 (ยังสามารถทำกำไรได้ร้อยละ 15.10) สภาพคล่องทางการเงิน 1. ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่อง 1.1 Cash Ratio = 0.72 ปกติ 1.2 QR = 1.32 ปกติ 1.3 CR = 1.57 ปกติ 1.4 หนี้สิน 5,356,862.05 บาท 1.5 เงินบำรุงคงเหลือ 5,294,247.19 บาท ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและบริหารจัดการด้านทรัพยากร 1. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ค่ารักษา UC/NON-UC อยู่ในเกณฑ์ปกติ(90 วัน ) 2. ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้เจ้าหนี้ ในต้นปีงบประมาณ 2551 อยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่ต้องควบคุมตามมาตรการที่กำหนดตาม เกณฑ์ ซึ่งตัวแปรที่สำคัญหากขาดสภาพคล่องในด้านรายรับอาจส่งผลให้การชำระหนี้เกินเกณฑ์ที่กำหนด ล่าช้ากว่าเกณฑ์ที่กำหนด 3. อัตราค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร: รายจ่ายดำเนินงาน อยู่ในอัตราสูง(63.24) ต้องเฝ้าระวังควบคุม 4. ต้นทุน OPD มีอัตราสูงกว่าค่าเฉลี่ยต้องเฝ้าระวัง แต่ยังสามารถควบคุมในเชิงประสิทธิภาพได้ 5. ต้นทุน IPD มีอัตราสูงกว่าค่าเฉลี่ยต้องเฝ้าระวัง แต่ยังสามารถควบคุมในเชิงประสิทธิภาพได้ 6. ทุนสำรองสุทธิและอัตราหมุนเวียนของวัสดุ/ยาเวชภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี มีประสิทธิภาพ