1 ปี 2547-2548 มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี 2547-2548 มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
ผศ.ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ รองอธิการบดี 30 มกราคม 2555
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
Co-operative education
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
จิบน้ำชา สายวิชาการ 7 มีนาคม 2554.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ณ วิทยาเขตศรีราชา จ.ชลบุรี
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
1 คณะอนุกรรมการดำเนินการสอนที่ มุ่งเน้นความรู้คู่คุณธรรม และ สอดแทรกจริยธรรม เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย สกอ. ผู้แทนสถาบันในเครือข่ายที่แม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
EdPEx Kick off.
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
หลัก สูตร คณะ สถาบั น 2 บัณฑิต 3 นักศึกษา 4 อาจารย์องค์ประกอบ 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 การผลิตบัณฑิต 2.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
การปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และระเบียบอื่นที่เกี่ยวเนื่อง นายธานินทร์ เงินถาวร งานบริการการศึกษา.
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ศุภมาศ พนิช ศักดิ์พัฒนา

2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาส ตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาส ตร์ กับการพัฒนาหลักสูตร เพื่อก้าวสู่มาตรฐาน การศึกษาสากล

3 หลักสูตร หลักสูตร คุณภาพอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ คุณภาพนิสิต คุณภาพนิสิต ระบบการจัดการศึกษา ระบบการจัดการศึกษา - ปรับองค์กร : คณะ / ภาควิชา - กลุ่มภารกิจวิชาการ (Cluster of Knowledge) ความพร้อมอื่นๆ ความพร้อมอื่นๆ - อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม และปัจจัย เกื้อหนุนต่างๆ ทิศทางการพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

4 การพัฒนาหลักสูตร ผู้มีบทบาทสำคัญ...  คณะกรรมการ การศึกษา  ภาควิชา / คณะ / วิทยา เขต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อก้าวสู่มาตรฐานการศึกษา สากล

5 การบริหารจัดการหลักสูตร  ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวและ สอดคล้องกับ วิทยาเขต และเปิด โอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลักสูตรมากขึ้น  สอดคล้องกับความต้องการของ สังคมและผู้ใช้บัณฑิต  มีความยืดหยุ่นเอื้อต่อวิทยาเขต  สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาของ สกอ.

6  การติดตาม / ประเมินผลการนำ หลักสูตร / รายวิชาไปใช้  การพิจารณาทบทวนร่วมกัน ระหว่างวิทยาเขต  ประสานงานและปรับปรุงพัฒนา ร่วมกัน การรักษามาตรฐานเพื่อการ ปรับปรุงพัฒนา หลักสูตร / รายวิชา ระหว่างวิทยา เขต

7 หลักสูตรต้องมีคุณภาพ เครื่องมือต้องมีคุณภาพ อาจารย์ต้องมีคุณภาพ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ มก. เติบโตด้วย คุณภาพ

8 ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร ในปี  การปรับปรุงแต่ละหลักสูตรใช้เวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจาก คณะวิชา  หลักสูตรใดยังไม่ปรับปรุง เมื่อมีนิสิตสำเร็จ การศึกษาและครบรอบระยะเวลาของหลักสูตร คณะวิชาต้องมีคำอธิบายต่อสภา มก.  คณะกรรมการประจำคณะใช้เวลาในการ พิจารณาหลักสูตรไม่เกิน 45 วัน  คณะกรรมการการศึกษาใช้เวลาในการ พิจารณาหลักสูตรไม่เกิน 45 วัน

9 แนวทางการบริหารจัดการ หลักสูตร กรณีนำ หลักสูตร / รายวิชาไปเปิดสอน ต่างวิทยาเขตและการรักษา มาตรฐานการศึกษา แนวทางการบริหารจัดการ หลักสูตร กรณีนำ หลักสูตร / รายวิชาไปเปิดสอน ต่างวิทยาเขตและการรักษา มาตรฐานการศึกษา

10 ขั้นตอนและหลักเกณฑ์การ นำหลักสูตร และรายวิชาต่างวิทยาเขต ไปเปิดสอน

11 คณะ / วิทยาเขต ที่ต้องการนำ หลักสูตร / รายวิชาต่างวิทยาเขตไปใช้ จะต้องดำเนินการหารือและขอความ เห็นชอบร่วมกัน

12 การนำรายวิชาไปใช้สอน ให้ยึดเนื้อหา การสอนในรายวิชานั้นจากคำอธิบาย รายวิชา (course description) และมี การตรวจสอบติดตามทบทวนร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ( ภาคต้น / ภาค ปลาย )

13 การนำหลักสูตรและรายวิชาจากต้น สังกัดใดไปใช้ มหาวิทยาลัยมี ข้อกำหนดให้ใช้รหัส 8 หลักตาม ต้นสังกัดนั้น

14 มีการกำหนดวิชาแกนขั้นต่ำ (minimum core) ในแต่ละ หลักสูตร และคณะฯ ที่ขอนำ หลักสูตรไปใช้โดยสามารถปรับปรุง รายวิชาเพิ่ม / ลดได้ หากไม่กระทบ ต่อวิชาแกนขั้นต่ำ เพื่อความ เหมาะสมในแต่ละวิทยาเขต

15 มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะต้น สังกัด และคณะวิชาที่นำหลักสูตรไป ใช้โดยมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร / รายวิชาร่วมกัน

16 การรักษามาตรฐาน การศึกษา ระหว่างวิทยาเขตอาจทำ ได้หลายทาง

17 เชิญอาจารย์จากหลักสูตรต้น สังกัดมาช่วยสอนให้กับคณะที่ขอ ใช้หลักสูตร

18 คณะที่ขอใช้หลักสูตรสามารถขอ sit in ในรายวิชาของคณะต้น สังกัด

19 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมา ช่วยสอนและมีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร / รายวิชาร่วมกัน

20 คณะเจ้าของหลักสูตรให้คำแนะนำแนว ทางการพัฒนาอุปกรณ์การเรียนการสอน และห้องปฏิบัติการร่วมกับคณะ / วิทยา เขตที่นำหลักสูตรไปใช้ มีการติดตามประเมินผลและพิจารณา ทบทวนร่วมกัน ฯลฯ

21 ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องเป็นไปอย่าง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพ การศึกษา

22 สวัสดี