คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
1. หน้าที่การทำงานของน้ำยาหล่อเย็น
การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การผลิตไบโอดีเซลด้วยพลังงานจากแสงอาทิตย์
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เอกสารเคมี Chemistry Literature
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
รักษ์โลก กับวิศวกรรมเคมี ตอนที่ 1
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การเสนอโครงการวิจัย.
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงานผลิตแก้วและกระจก พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 มิถุนายน 2555.
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การเติมน้ำกรด ใช้น้ำกรดที่มีค่าความถ่วงจำเพาะอยู่ระหว่าง ใส่น้ำกรดลงในทุกช่องแบตเตอรี่จนถึงระดับ UPPER ตั้งแบตเตอรี่ทิ้งไว้ในร่มประมาณ 0.5.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
สารสกัดจากก้านเห็ดหอมแห้งที่มีเลนไธโอนีนเป็นส่วนประกอบ
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ฐิฎา ไกรวัฒนพงศ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์อนามัยที่ 1.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
ใช้มากเกินความจำเป็น
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดลักษณะของน้ำมันใช้ แล้วที่ผ่านกระบวนการปรับปรุง คุณภาพและเชื้อเพลิงสังเคราะห์ที่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา การปรับปรุงดินฟอกสีไร้น้ำมันเพื่อการนำกลับมาใช้ Reactivation of Deoiled Bleaching Clay for Reuses คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา ภาควิชาวิศวกรรมเคมี วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

บทนำ ศึกษาเกี่ยวกับการนำดินฟอกสีที่ใช้แล้วมาผ่านกระบวนการปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อนำกลับมาใช้ได้อีก ซึ่งจะช่วยลดการใช้ดินฟอกสีใหม่พร้อมทั้งลดปริมาณของเสียที่จะกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

กระบวนการปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้ว มีได้หลายวิธี เช่น บทนำ กระบวนการปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้ว มีได้หลายวิธี เช่น (1) การปรับปรุงโดยวิธีทางเคมีด้วยสารละลายกรดและด่าง (2) การสกัดโดยใช้ตัวทำละลาย (3) การสกัดโดยใช้ตัวทำละลายแล้วตามด้วยการใช้ความร้อน การสกัดโดยใช้ตัวทำละลายตามด้วยการออกซิเดชั่น แล้วล้างด้วยกรด การสกัดโดยใช้ตัวทำละลายแล้วทำปฏิกิริยากับกรดตามด้วยการเผาให้ความร้อน ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

วัตถุประสงค์ ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้วจากกระบวนการผลิตน้ำมันพืช โดยวิธี : การสกัดด้วยตัวทำละลายเพื่อให้ได้น้ำมันที่ติดอยู่กับดินฟอกสีกลับมา (oil recovery) โดยเปรียบเทียบระหว่างเฮกเซนซึ่งเป็นตัวทำละลายที่ไม่ มีขั้วกับอะซีโตนซึ่งเป็นตัวทำละลายที่มีขั้ว : การใช้ความร้อนช่วยในการปรับปรุงสภาพของดินฟอกสี ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

การสกัดน้ำมันด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) การทดลอง ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการปรับปรุงนำดินฟอกสีที่ใช้แล้ว แบ่งเป็น 3 วิธี คือ การสกัดน้ำมันด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) การใช้ความร้อน (heat treatment) ด้วยวิธีการเผา การสกัดด้วยตัวทำละลายตามด้วยการใช้ความร้อนด้วยวิธีการเผา (solvent extraction followed by heat treatment) ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

การทดลอง 2. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกระตุ้นดินฟอกสีที่ใช้แล้ว เช่น ชนิดของตัวทำละลาย เวลาที่ใช้ในการสกัด อุณหภูมิการเผา และเวลาที่ใช้ในการเผาดินฟอกสีที่ใช้แล้ว เปรียบเทียบประสิทธิภาพการฟอกสีของดินฟอกสีที่ถูกปรับปรุง (regeneration efficiency) กับดินฟอกสีที่ยังไม่ผ่านการใช้งาน โดยการวัดค่าสีของน้ำมัน (red and yellow color) ที่ผ่านการฟอกสีด้วยเครื่อง Lovibond tintometer ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

ผลการทดลอง การปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้วโดยการสกัดด้วยตัวทำละลายเฮกเซนและอะซีโตน 5 10 15 20 25 น้ำมันที่ถูก สกัดออกไป % เวลา (ชั่วโมง) 2 4 6 8 10 ประสิทธิภาพ ของดินฟอกสี % 5 20 เวลา (ชั่วโมง) เฮกเซน อะซีโตน (ก) ความสัมพันธ์ระหว่าง % ของน้ำมันที่ถูกสกัดออกไปกับเวลาที่ใช้ในการสกัด (ข) ความสัมพันธ์ระหว่าง ประสิทธิภาพของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้วกับเวลาที่ใช้ในการสกัด ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

ผลการทดลอง (ต่อ) การปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้วโดยวิธีการใช้ความร้อนด้วยการเผาที่อุณหภูมิ 400 – 700 oC 5 10 15 20 25 30 35 40 น้ำมันที่ถูก กำจัดออกไป % 3 4 เวลา (ชั่วโมง) 10 20 30 40 50 60 3 4 5 เวลา (ชั่วโมง) ประสิทธิภาพ ของดินฟอกสี % 400 องศาเซลเซียส 500 600 700 (ก) ความสัมพันธ์ระหว่าง % ของน้ำมันที่ถูกกำจัดออกไปกับเวลาที่ใช้ในการเผา (ข) ความสัมพันธ์ระหว่าง ประสิทธิภาพของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้วกับเวลาที่ใช้ในการเผา ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

ผลการทดลอง (ต่อ) การปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้ว โดยวิธีการสกัดด้วยตัวทำละลายอะซีโตนตามด้วยการใช้ความร้อน ที่อุณหภูมิ 400–700 oC น้ำมันที่ถูก กำจัดออกไป % 5 10 15 20 25 30 35 40 3 4 เวลา (ชั่วโมง) ประสิทธิภาพ ของดินฟอกสี % 20 40 60 80 100 3 4 5 เวลา (ชั่วโมง) 400 องศาเซลเซียส 500 600 700 (ก) ความสัมพันธ์ระหว่าง % ของน้ำมันที่ถูกกำจัดออกไปกับเวลาที่ใช้ในการเผา (ข) ความสัมพันธ์ระหว่าง ประสิทธิภาพของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้วกับเวลาที่ใช้ในการเผา ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

4. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการฟอกสีของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว ผลการทดลอง (ต่อ) 4. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการฟอกสีของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว วิธีการปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้ว คุณสมบัติของดินฟอกสีที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว แบบที่ การสกัดด้วย ตัวทำละลาย การให้ความร้อน ด้วยการเผา ลักษณะสี ของดินฟอกสี % น้ำมัน ที่ถูกกำจัด % ประสิทธิภาพ ในการฟอกสี 2 อะซีโตน 5 ชั่วโมง - สีน้ำตาล 21.10 9.52 3 400 °C สีดำเข้ม 28.2 59.52 7 4 ชั่วโมง 31.9 97.62 ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004

สรุปผลการทดลอง การปรับปรุงดินฟอกสีที่ใช้แล้วจากกระบวนการผลิตน้ำมันพืชเพื่อนำกลับมาใช้ในกระบวนการผลิตน้ำมันพืชอีก มีวิธีที่เหมาะสม คือ วิธีการสกัดน้ำมันที่เหลืออยู่ด้วยอะซีโตนตามด้วยการเผาที่อุณหภูมิ 400 OC เวลาในการเผา 4 ชั่วโมง ได้ดินฟอกสีที่มีประสิทธิภาพของการฟอกสีได้สูงถึง 97.62% การสกัดด้วยอะซีโตนสามารถนำน้ำมันกลับคืนมาได้ถึง 60% ของน้ำมันที่เหลืออยู่กับดินฟอกสีที่ใช้แล้ว ก่อน หลัง การให้ความร้อนด้วยการเผาสามารถกำจัดสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่อยู่ในรูพรุนของดินฟอกสีออกไปได้มากขึ้น ทำให้ดินฟอกสีที่ได้มีประสิทธิภาพในการฟอกสีดีขึ้น แต่อุณหภูมิที่ใช้ในการเผาไม่ควรสูงเกินไป เพราะอาจทำให้เกิด overcalcination ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี_2004