งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
1. ชื่อการทดลอง 5. วัสดุอุปกรณ์ 2. วันที่ทำการทดลอง 6. วิธีการทดลอง 3. วัตถุประสงค์ บันทึกผลการทดลอง 4. กำหนดตัวแปร 8. วิเคราะห์ผลการทดลอง ตัวแปรต้น สรุปผลการทดลอง ตัวแปรตาม คำถามท้ายการทดลอง ตัวแปรควบคุม

2 การทดลอง 4.1 การเตรียมสารละลาย
จุดประสงค์การทดลอง คำนวณหามวลของตัวละลาย เพื่อใช้เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นและปริมาตรตามต้องการได้ เตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นและปริมาตรตามต้องการได้

3 การทดลอง 4.1 การเตรียมสารละลาย
ตอนที่ คำนวณสารตามคำสั่งที่ได้รับ 0.1 mol/dm3 - ชั่งสารตัวอย่างตามปริมาณที่คำนวณได้

4 ละลายสารตัวอย่างในบีกเกอร์แล้วคนด้วยแท่งแก้วจนสาร
ละลายหมด

5 เทสารละลายลงในขวดวัดปริมาตร

6 ล้างบีกเกอร์ด้วยน้ำกลั่น

7 ตั้งขวดวัดปริมาตรเพื่อให้สารละลายมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้อง

8 เติมน้ำกลั่นทีละน้อยจนถึงขีดบอกปริมาตร

9 ให้ส่วนโค้งต่ำสุดของสารละลายอยู่ตรงขีดบอกปริมาตร

10 คำถามท้ายการทดลอง(ตอนที่ 1)
ในการเตรียมสารละลาย เหตุใดจึงไม่เติมน้ำกลั่นให้ถึงขีดบอกปริมาตรในครั้งเดียว ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่าเดิม แต่มีปริมาตร 100 cm3 จะต้องใช้ NaCl กี่กรัม NaCl ที่ใช้ในการทดลองนี้สามารถใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น 0.5 mol/dm3 ได้ปริมาตรเท่าใด

11 ตอบคำถาม เหตุที่ไม่เติมน้ำกลั่นเพียงครั้งให้ถึงขีดบอกปริมาตรของขวดวัดปริมาตร เพราะจะทำให้ที่ว่างในขวดเหลือน้อย ไม่สะดวกในการเขย่าสาร นอกจากนี้สารบางชนิดเมื่อละลายน้ำแล้วมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างขวดวัดปริมาตรกับสารละลาย มีผลทำให้ขวดวัดปริมาตรมีปริมาตรคลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง ใน

12 ขณะเตรียมสารละลายจึงต้องเติมน้ำลงในขวดวัดปริมาตรให้ต่ำกว่าขีดบอกปริมาตรเล็กน้อย เมื่อสารละลายมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้องแล้วจึงเติมน้ำเพื่อปรับระดับปริมาตรสารละลายอีกจนระดับของสารละลายถึงขีดบอกปริมาตรพอดี

13 ถ้าต้องการเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่าเดิม แต่ต้องการให้มีปริมาตรลดลงเป็น 100 cm3 จะต้องใช้โซเดียมคลอไรด์ กรัม และโซเดียมคลอไรด์ที่ใช้ในการทดลองนี้ กรัม จะใช้เตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น mol/dm3 ได้ปริมาตร 200 cm3

14 คำถามท้ายการทดลอง(ตอนที่ 2)
สารละลายที่เตรียมได้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร

15 คำนวณหาความเข้มข้นของสารละลาย NaCl ที่เตรียมได้
mol/dm3 จำนวน 10 cm3 จะมีมวล NaCl ละลายอยู่ = mol/dm3 x 10 cm3 1000 cm3 = mol

16 อภิปรายผลการทดลอง ปัจจัยใดบ้างที่มีผลทำให้ความเข้มข้นของสารละลายที่เตรียมได้คลาดเคลื่อน

17


ดาวน์โหลด ppt รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google