งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ เช่น อาคารบางประเภท โรงงาน หรือเรือ ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติต่างๆ เช่น พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ และ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อย่างไรก็ตาม มาตรฐานใดๆ ก็จะต้องไม่ด้อยกว่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่ออกตามความใน พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

2 คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ. ร. บ
คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ ประกอบด้วย ความเป็นกรด-ด่าง (pH) บีโอดี (BOD, Biochemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา 5 วัน ที่อุณหภูมิ 20oC ปริมาณของแข็ง (Solids) ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) ปริมาณตะกอนหนัก (Settleable Solids) ปริมาณของแข็งละลาย (Dissolved Solids) ซัลไฟด์ (Sulfide) สารประกอบซัลเฟอร์

3 คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ. ร. บ
คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ ประกอบด้วย....(ต่อ) ไนโตรเจน (Nitrogen) ทีเคเอ็น (TKN) ไนโตรเจนที่เป็นสารอินทรีย์ และแอมโมเนียไนโตรเจน ออร์กานิก-ไนโตรเจน (Organic nitrogen) คือไนโตรเจนที่อยู่ในรูปของสารอินทรีย์ และสามารถย่อยสลายได้ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (Ammonia nitrogen) คือ ไนโตรเจนที่อยู่ในโปรตีนของพืชหรือสัตว์ หรือที่เกิดจากการย่อยสลายของออร์กานิก-ไนโตรเจน มาเป็นแอมโมเนีย น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ที่ลอยบนผิวน้ำ

4 ประเภทมาตรฐานการควบคุมการระบายน้ำทิ้ง
สรุปมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ออกตามความในมาตรา 55 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 Parameter Unit ประเภทมาตรฐานการควบคุมการระบายน้ำทิ้ง pH - 5-9 BOD mg./L > 20 > 30 > 40 > 50 > 200 Solids - Suspended solids > 60 - Settleable solids ml./L > 0.5 - Total dissolved solids* > 500 Sulfide > 1.0 > 3.0 > 4.0 Nitrogen (TKN) > 35 Fat Oil and Grease > 100 หมายเหตุ : *ปริมาณสารละลายที่เพิ่มขึ้นจากปริมาณสารละลายในน้ำใช้ปกติ

5 สรุปประเภทของอาคาร ประเภทอาคาร ขนาดอาคาร มาตรฐาน
1.อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ไม่ถึง 100 ห้องนอน 100 - ไม่ถึง 500 ห้องนอน ตั้งแต่ 500 ห้องนอน 2.โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ไม่ถึง 60 ห้อง 60 – ไม่ถึง 200 ห้อง ตั้งแต่ 200 ห้อง 3.หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก 10 - ไม่ถึง 50 ห้อง 50- ไม่ถึง 250 ห้อง ตั้งแต่ 250 ห้อง 4. สถานบริการ 1,000 – ไม่ถึง 5,000 ม2 ตั้งแต่ 5,000 ม.2

6 สรุปประเภทของอาคาร ประเภทอาคาร ขนาดอาคาร มาตรฐาน
5.โรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตามกฎหมาย 10 – ไม่ถึง 30 เตียง ตั้งแต่ 30 เตียง 6.อาคารโรงเรียนราษฎร์ โรงเรียนของทางราชการ  สถาบันอุดมศึกษาของเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาของทางราชการ 5,000-ไม่เกินกว่า 25,000 ม.2 ตั้งแต่ 25,000 ม.2 ตั้งแต่ 200 ห้อง 7. อาคารที่ทำการของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การระหว่างประเทศหรือเอกชน 5,000-ไม่ถึง 10,000 ม.2 10,000-ไม่ถึง 55,000 ม.2 ตั้งแต่ 55,000 ม.2 8.อาคารของศูนย์การค้าหรือห้างสรรพสินค้า 5,000-ไม่ถึง 25,000 ม.2

7 สรุปประเภทของอาคาร ประเภทอาคาร ขนาดอาคาร มาตรฐาน
9. ตลาด 500-ไม่ถึง 1,000 ม.2 1,000-ไม่ถึง 1,500 ม.2 1,500-ไม่ถึง 2,500 ม.2 เกินกว่าหรือเท่ากับ 2,500 ม.2 10.ภัตตาคารและร้านอาหาร ไม่ถึง100 ม.2 100-ไม่ถึง 250 ม.2 250-ไม่ถึง 500 ม.2 500-ไม่ถึง 2,500 ม.2 เกินกว่าหรือ เท่ากับ2,500 ม.2 หมายเหตุ : ปัจจุบันควบคุมเฉพาะประเภท ก.


ดาวน์โหลด ppt น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google