มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
ลำดับขั้นตอนการเสนอของบประมาณ (เดิม)
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ความหมายของการวางแผน
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
Graduate School Khon Kaen University
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Lesson 10 Controlling.


การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
การวิเคราะห์กิจกรรม น.อ.ศิรัส ลิ้มเจริญ ผช.ผอ.กบท.สปช.ทร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การวางแผนและติดตามผลการ ปฎิบัติราชการอย่างมี มิติ เป้าประสงค์ มิติ คือ 4 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพของการ ปฎิบัติราชการ 2. ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
ระบบบัญชี.
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
การจัดงบประมาณของโครงการ
การบริหารการเงินโรงเรียน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเงิน.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
Assessment and Evaluation System
หลักการเขียนโครงการ.
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน 7 HURDLES มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน

การจัดทำระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงาน (PBB) จะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพหน่วยงานในทุกระดับจะต้องมีกลไกขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ถูกต้องโดยอาศัยแนวทางการ พัฒนาตามมาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ด้าน หรือ 7 HURDLES

PBB : Peformance Based Budgeting เป็นระบบงบประมาณที่แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรที่ใช้ไปกับผลงานที่เกิดขึ้นจากการจัดสรรงบประมาณหรือทรัพยากร ความสำเร็จในการจัดทำงบประมาณแบบ PBB พิจารณาได้จากผลงานที่เกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นผลผลิต (Outputs) และผลลัพธ์ (Outcomes)

มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน 7 HURDLES มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน

1. การวางแผนงบประมาณ (Budgeting Planning) เริ่มต้นจากการทำแผนกลยุทธ์ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงสร้างแผนงาน ผลงาน ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

ข้อมูลที่ได้จากแผนกลยุทธ์จะนำไปใช้ในการจัดทำแผนงบประมาณล่วงหน้าระยะปานกลาง 3 ปี (Medium Term Expenditure Framework) ซึ่งจะเชื่อมโยงกับงบประมาณที่จะใช้ และผลงานที่จะได้รับ

2. การคำนวณต้นทุนของกิจกรรม (Activity Based Costing) เป็นการคำนวณต้นทุนในแต่ละกิจกรรมที่ได้วางแผนมาแล้วว่าจะใช้ต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตเท่าไร ซึ่งมีการคิดทั้งต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม

3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Management) เป็นการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึ่งครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญของการจัดซื้อ จัดจ้าง การอนุมัติ การตรวจสอบสินค้าคงเหลือ วิธีการคัดเลือก และขั้นตอนผู้ผลิต การจัดทำสัญญา ขั้นตอนการจ่ายเงิน มีขั้นตอนที่ รัดกุม มีการกำหนดมาตรฐานของการซื้อสินค้า มีความรับผิดชอบในขั้นตอน และกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้าง

4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ (Financial Management / Fund Control) หน่วยงานจำเป็นต้องกำหนดรายการและโครงสร้างทางบัญชี เอกสารหลักฐานที่จำเป็น มีระบบควบคุมการเบิกจ่าย และการบริหารจัดการงบประมาณ ที่มีประสิทธิภาพ มีการกำหนดความรับผิดชอบในการลงบันทึกรายการทางบัญชี แยกความรับผิดชอบในการอนุมัติสั่งจ่าย เบิกจ่าย และ การรายงานทางการเงิน

มีการแยกหน้าที่ด้านการบัญชี การคลัง และการตรวจสอบ แยกความรับผิดชอบในการดูแลการลงบัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีย่อยแยกประเภท มีระบบการอนุมัติ ตรวจสอบ กระทบยอด และบันทึก เพื่อ ควบคุมการเบิกจ่ายงบประมาณ มีการแบ่งระดับชั้นการเข้าถึงข้อมูลทางการเงินและบัญชี

5. การรายงานทางการเงิน (Financial and Performance Reporting) ในกระบวนการรายงาน จะต้องการกำหนดตัวชี้วัดกรอบและโครงสร้างการประเมินและรายงานผลที่ชัดเจน มีระยะเวลาในการตรวจสอบที่แน่นอน และที่สำคัญ คือ ข้อมูลที่รายงานจะต้องแสดงความสัมพันธ์ระหว่างงบประมาณหรือทรัพยากรที่จัดสรรให้กับผลงานที่เกิดขึ้น ตลอดจนการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการดำเนินงาน ซึ่งจะเป็นข้อมูลในการวางแผนขั้นต่อๆ ไป

6. การบริหารสินทรัพย์ (Asset Management) หน่วยงานมีระบบบริหารสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ แสดงให้เห็นถึงการบริหารสินทรัพย์ เช่น มีคู่มือการดำเนินงานบริหารสินทรัพย์ มีการลงทะเบียนสินทรัพย์ที่เป็นปัจจุบัน มีการคิดค่าบริการการใช้สินทรัพย์ มีการวางแผนการใช้สินทรัพย์ที่คุ้มค่า

7. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) หน่วยงาจะต้องมีฝ่ายที่รับผิดชอบในการตรวจสอบภายในที่มีอิสระในการดำเนินงาน มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน และมีตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานที่ขัดเจนเป็นไปได้

7 HURDLES เป็นเครื่องมือไปสู่มาตรฐานการจัดการทางการเงินที่ชัดเจน นำไปสู่การใช้ระบบงบประมาณแบบ PBB การตรวจสอบนอกจากจะตรวจสอบทางการเงิน (Financial Audit) แล้วยังเป็นการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน (Performance Audit) โดยเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จาการใช้ทรัพยากร