นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Advertisements

การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี การบริหารจัดการ การฝึกซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข กับบทบาทของ สคร. นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี 26-27 มกราคม 2555

ภารกิจของสคร. โดยกลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคฯ พัฒนาระบบและกลไกการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงาน พัฒนาเครือข่ายระดับพื้นที่ (จังหวัด อำเภอ) ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เตรียมความพร้อมของหน่วยงาน บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เพื่อการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ครอบคลุมทั้ง 3 ระยะภัย การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข บริหารจัดการระบบส่งกำลังบำรุง (Logistics) ประสาน/บริหารจัดการ/สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติทั้งในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ จัดตั้ง War Room การสร้างองค์ความรู้ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เช่น การถอดบทเรียนจากการปฏิบัติงาน พิเศษ => นิคมโรคเรื้อน , ศูนย์วัณโรค

การจัดการภาวะฉุกเฉิน ก่อน ระหว่าง หลัง

การจัดการภาวะฉุกเฉิน ระยะก่อนเกิดเหตุ (Preparedness) ประเมินและค้นหาความเสี่ยง เตรียมการป้องกัน การเตรียมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบ ระบบเฝ้าระวัง ระบบเตือนภัย ระบบตอบโต้ คน ของ การซ้อมแผน

การเตรียมความพร้อมรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข Training Planning Risk Assessment Review Evaluation Incident Response

บทบาท สคร. ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกซ้อมแผนฯ วิชาการ จัดอบรม ประชุม บริหารจัดการ เป็นที่ปรึกษา ร่วมฝึกซ้อม ประเมินผล ประเมินผลการซ้อมแผน การดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข็มแข็งอย่างยั่งยืน” องค์ประกอบที่ 3

5 องค์ประกอบ อำเภอควบคุมโรคเข็มแข็งอย่างยั่งยืน นโยบาย และการทำงานเป็นทีม ระบบข้อมูล การเตรียมพร้อม การติดตามผล การร่วมมือของภาคส่วน ประสิทธิผล มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีระบบระบาดวิทยาที่ดี มีการวางแผน กำกับติดตามและประเมินผลแผนงานควบคุมโรค มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา

ประเด็นการประเมินที่เกี่ยวข้อง ในองค์ประกอบที่ 3 ประเด็นการประเมินที่เกี่ยวข้อง ในองค์ประกอบที่ 3 3.9 มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ ภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระดับอำเภออย่างน้อย 1 แผน 3.10 มีการซ้อมแผนรับมือการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับอำเภออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

สิ่งที่พบในพื้นที่ ยังขาดการประเมินความเสี่ยงที่ครบถ้วน รอบด้าน ยังขาดการวางแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุมทั้ง ระยะก่อน ระหว่าง หลังเกิดเหตุ ที่สำคัญการซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขยังขาดความเป็นระบบ เช่น การทำงานเป็นทีม การกำหนดวัตถุประสงค์ การประเมินผล เป็นต้น

สรุป ดังนั้นจึงควรมีการจัดประชุม/อบรม เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการการซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขให้กับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ สคร. เหมาะสมที่จะเป็นผู้ดำเนินการ หลักสูตรที่พัฒนาโดย Asean +3 มีความเหมาะสม เน้นการบริหารจัดการ น่าจะเป็นหลักสูตรที่ใช้ได้ในประเทศกลุ่มอาเซียน ครบทั้ง PDCA cycle (Plan Do Check Act)

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี ขอบคุณครับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี