นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี การบริหารจัดการ การฝึกซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข กับบทบาทของ สคร. นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี 26-27 มกราคม 2555
ภารกิจของสคร. โดยกลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคฯ พัฒนาระบบและกลไกการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงาน พัฒนาเครือข่ายระดับพื้นที่ (จังหวัด อำเภอ) ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เตรียมความพร้อมของหน่วยงาน บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เพื่อการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ครอบคลุมทั้ง 3 ระยะภัย การพัฒนาและการจัดการฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข บริหารจัดการระบบส่งกำลังบำรุง (Logistics) ประสาน/บริหารจัดการ/สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในสถานการณ์ฉุกเฉินและภัยพิบัติทั้งในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ จัดตั้ง War Room การสร้างองค์ความรู้ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน เช่น การถอดบทเรียนจากการปฏิบัติงาน พิเศษ => นิคมโรคเรื้อน , ศูนย์วัณโรค
การจัดการภาวะฉุกเฉิน ก่อน ระหว่าง หลัง
การจัดการภาวะฉุกเฉิน ระยะก่อนเกิดเหตุ (Preparedness) ประเมินและค้นหาความเสี่ยง เตรียมการป้องกัน การเตรียมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบ ระบบเฝ้าระวัง ระบบเตือนภัย ระบบตอบโต้ คน ของ การซ้อมแผน
การเตรียมความพร้อมรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข Training Planning Risk Assessment Review Evaluation Incident Response
บทบาท สคร. ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกซ้อมแผนฯ วิชาการ จัดอบรม ประชุม บริหารจัดการ เป็นที่ปรึกษา ร่วมฝึกซ้อม ประเมินผล ประเมินผลการซ้อมแผน การดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข็มแข็งอย่างยั่งยืน” องค์ประกอบที่ 3
5 องค์ประกอบ อำเภอควบคุมโรคเข็มแข็งอย่างยั่งยืน นโยบาย และการทำงานเป็นทีม ระบบข้อมูล การเตรียมพร้อม การติดตามผล การร่วมมือของภาคส่วน ประสิทธิผล มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ มีระบบระบาดวิทยาที่ดี มีการวางแผน กำกับติดตามและประเมินผลแผนงานควบคุมโรค มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา
ประเด็นการประเมินที่เกี่ยวข้อง ในองค์ประกอบที่ 3 ประเด็นการประเมินที่เกี่ยวข้อง ในองค์ประกอบที่ 3 3.9 มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ ภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระดับอำเภออย่างน้อย 1 แผน 3.10 มีการซ้อมแผนรับมือการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับอำเภออย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
สิ่งที่พบในพื้นที่ ยังขาดการประเมินความเสี่ยงที่ครบถ้วน รอบด้าน ยังขาดการวางแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุมทั้ง ระยะก่อน ระหว่าง หลังเกิดเหตุ ที่สำคัญการซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขยังขาดความเป็นระบบ เช่น การทำงานเป็นทีม การกำหนดวัตถุประสงค์ การประเมินผล เป็นต้น
สรุป ดังนั้นจึงควรมีการจัดประชุม/อบรม เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการการซ้อมแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขให้กับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ สคร. เหมาะสมที่จะเป็นผู้ดำเนินการ หลักสูตรที่พัฒนาโดย Asean +3 มีความเหมาะสม เน้นการบริหารจัดการ น่าจะเป็นหลักสูตรที่ใช้ได้ในประเทศกลุ่มอาเซียน ครบทั้ง PDCA cycle (Plan Do Check Act)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี ขอบคุณครับ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี