การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graduate School Khon Kaen University
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“Hazard Identification and Risk Assessment” การประเมินและการจัดการความเสี่ยง ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข นพ.สุรศักดิ์ เกษมศิริ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การใช้ระบาดวิทยา สำหรับผู้บริหาร
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา

การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
ความหมายของวิทยาศาสตร์
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
โดย คุณมยุรี ผิว สุวรรณ. สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ทางปัญญา และ สังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์ รวมอย่างสมดุล สุขภาพ - ภาวะของมนุษย์ที่
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ระยะของการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ระยะก่อนเกิดเหตุการณ์ (การเตรียมพร้อม) ขณะเกิดเหตุการณ์ (การตอบโต้) หลังเกิดเหตุการณ์ (การฟื้นฟู)

การประเมินความเสี่ยง ภัยพิบัติ ระยะเตรียมพร้อม การพัฒนานโยบาย การประเมินความเสี่ยง ระยะบรรเทาภัย ระยะตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน ระยะฟื้นฟูบูรณะ

การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง การบรรเทาทุกข์ การเตรียมความพร้อม

ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา Coping Capacity Vulnerability Hazard

การดำเนินงานสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉิน ป้องกันการระบาดและการแพร่กระจายของโรค ป้องกันสิ่งอันตรายจากสิ่งแวดล้อม ป้องกันการบาดเจ็บ ส่งเสริมสนับสนุนพฤติกรรมสุขภาพ ให้ความช่วยเหลือในการปรับคืนสภาพของชุมชน การจัดบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพและทั่วถึง

การประเมินความเสี่ยง???? ผลที่เกิดตามมา ความรุนแรง โอกาสที่จะเกิด การได้รับสัมผัส

ประโยชน์ของการประเมินความเสี่ยง ช่วยให้สามารถอธิบายผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ช่วยในการตัดสินใจเลือกกรณีที่มีความขัดแย้ง เป็นฐานข้อมูล เพิ่มขีดความสามารถของผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจ

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง กำหนดปัญหา ชี้บ่งอันตราย ระบุความเป็นอันตราย ประเมินการได้รับสัมผัส ระบุความเสี่ยง

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง การชี้บ่งภัยคุกคาม (Hazard identification) การระบุลักษณะภัยคุกคาม (Hazard characterisation) การประเมินการได้รับสัมผัสภัย (Exposure assessment) การระบุความเสี่ยงของภัยคุกคาม (Risk charactersation)

ขั้นที่1: การชี้บ่งภัยคุกคาม คุณลักษณะ/ คุณสมบัติ ของสารหรือสิ่งที่เป็นอันตราย - กายภาพ, ชีวภาพ, เคมี ตัวอย่าง - แบคทีเรีย - จุลชีพที่สร้างสารพิษ - โลหะ - ซากปรักหักพัง

ขั้นที่1: การชี้บ่งภัยคุกคาม แนวทางการพิจารณา - มีแหล่งกำเนิดของอันตรายหรือไม่ - ใครที่ได้รับอันตราย - อันตรายเกิดขึ้นได้อย่างไร การได้มาของข้อมูล - ข้อมูลวิชาการ - ข้อมูลทางระบาดวิทยา - จากผู้เชี่ยวชาญ - ข้อมูลประชากร

ขั้นที่ 2: การระบุลักษณะของภัยคุกคาม กลไกการเกิดผลเสีย ความเป็นพิษต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม ความรุนแรง ทางของการได้รับสัมผัส

ภาวะสมดุลย์ Agent Host Env. เสียสมดุล Agent Host Env.

ข้อมูลที่ต้องการ ข้อมูลของภัยคุกคาม คุณสมบัติ/ คุณลักษณะ ความเป็นพิษ (Toxicity/ pathogenicity) ความรุนแรง/ ความร้ายแรง(Severity/ virulence) แหล่งของการได้รับสัมผัส ปริมาณ/ ความเข้มข้น เส้นทางของภัยอันตราย ทางของการได้รับสัมผัส

ขั้นที่ 3: การประเมินการได้รับสัมผัสภัย Exposure Estimation of likelihood of adverse effect given exposure Amount (Dose) - Duration Frequency Route Dose of exposure Dose of adverse effect human epidemiolgy Model development/ selection - Consumption data Population at risk Other relevant data

ข้อมูลที่ต้องการ ปริมาณ ความเข้มข้น ช่วงเวลา ความถี่ - การตรวจวัดโดยตรง - ประมาณจากข้อมูลพื้นฐาน - การศึกษาวิจัยจากงานอื่นๆ - ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

ข้อมูลที่ต้องการ สัตว์ทดลอง ทดลองในอาสาสมัคร จากงานอื่นๆ  ขนาดของภัยคุกคามที่ก่อให้เกิดผลเสีย (Dose response relationship) สัตว์ทดลอง ทดลองในอาสาสมัคร จากงานอื่นๆ ข้อมูลการเฝ้าระวัง ข้อมูลทางระบาดวิทยา

ขั้นที่ 4:การระบุความเสี่ยงของภัยคุกคาม บูรณาการทั้ง 3 ส่วนเพื่อระบุ - ความเสี่ยงของการได้รับสัมผัส - ประชากรกลุ่มเสี่ยง - ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

วิธีการประเมิน Exposure Vulnerability Risk Hazard Risk = (Hazard x Exposure) x vulnerability

วิธีการประเมินการได้รับสัมผัส การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ (Qualitative) การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ (Quantitative)

แผนภูมิความเสี่ยง (Risk matrix) ผลเสียที่เกิดตามมา โอกาสเกิด ร้ายแรงมากที่สุด 5 ร้ายแรงมาก 4 ร้ายแรงปานกลาง 3 ร้ายแรงน้อยมาก 2 ไม่ร้ายแรง 1 สูงมาก 5 สูง 4 เป็นไปได้ 3 น้อย 2 น้อยมาก 1

แผนภูมิความเสี่ยง (Risk matrix) High risk Low risk

ตัวอย่าง: การประเมินความรุนแรงของน้ำท่วม ปริมาณน้ำฝน(มม.) ระยะเวลาน้ำท่วม (วัน) ความถี่ของการเกิด (ครั้ง/ปี) การจำแนก คะแนน การจำแนก คะแนน >1600 5 1400-1600 4 1200-1400 3 1000-1200 2 <1000 1 > 60 5 30-45 4 15-30 3 7-15 2 <7 1 > 8 5 6-8 4 4-6 3 2-4 2 <2 1

ความรุนแรงของน้ำท่วม ระดับน้ำท่วม (มม.) ระยะเวลาของ น้ำท่วม (วัน) ความรุนแรงของน้ำท่วม ปริมาณน้ำฝน (มม./ปี) ความถี่ของการเกิด (ครั้ง/10ปี)

ระดับความอ่อนแอ ต่อผลกระทบ ความหนาแน่น ปชก. สาธารณูปโภค พื้นที่การเกษตร พื้นที่อยู่อาศัย เส้นทางคมนาคม ระบบการเตรียมพร้อม

ตัวอย่าง: การใช้ Risk matrix ในการประเมินความเสี่ยงของน้ำท่วม ความรุนแรงของน้ำท่วม ความอ่อนแอ

ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา Coping Capacity Vulnerability Hazard

การประเมินความเสี่ยง การสื่อสารความเสี่ยง Risk Management การจัดการความเสี่ยง Risk Assessment การประเมินความเสี่ยง Scientific base Policy base Risk Communication การสื่อสารความเสี่ยง Information exchange concern risk