ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2553 – 2554 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนสามารถ เฝ้าระวัง และติดตาม สภาวะการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น ประชาชนมี มาตรการทางสังคม เพื่อควบคุม หรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคแอลกอฮอล์ ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแล สภาวะแวดล้อมในการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดี ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. ร่วมดำเนินงาน สร้างมาตรการทางสังคมและสนับสนุน ทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคม/ผู้ประกอบการทั้งในและนอกพื้นที่ สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาชุมชนสร้างเสริมสุขภาพและสภาวะแวดล้อมในการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเป็นรูปธรรม องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ(กทม./สสจ/เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ มีส่วนร่วมสนับสนุนการเฝ้าระวังและการบังคับใช้กฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์/กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรมและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารจัดการ สนับสนุนและพัฒนาการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน โครงการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสาร หลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาสุขภาพเพื่อป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) องค์กรสุขภาพมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย องค์กรสุขภาพมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสม ต่อการทำงาน ภ

ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ) ระดับประชาชน คำนิยาม - ประชาชนสามารถ เฝ้าระวัง และติดตาม สภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง - ประชาชนมีความรู้ และทักษะในการ เฝ้าระวัง และติดตาม สถานการณ์สร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง - ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น -ประชาชนมีความรู้และทักษะในการจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น -ประชาชนมี มาตรการทางสังคม เพื่อควบคุม หรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี - ประชาชนจัดทำมาตรการทางสังคม เพื่อใช้ควบคุมดูแลหรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคและการละเมิดกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแล สภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดี -ประชาชนสามารถ ควบคุมดูแลสภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพ และที่เป็นนามธรรม ให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดีและมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภ 2

ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ) ระดับภาคี คำนิยาม - อปท. ร่วมดำเนินงาน สร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง - อปท.มีการร่วมดำเนินงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมและสนับสนุนทรัพยากร (งาน, เงินงบประมาณ, บุคลากร, การบริหารจัดการงานกองทุนสุขภาพและการติดตามประเมินผล) อย่างพอเพียงและต่อเนื่อง อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคม/ผู้ประกอบการทั้งในและนอกพื้นที่ สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาชุมชนสร้างเสริมสุขภาพและสภาวะแวดล้อมในการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเป็นรูปธรรม - อสม./ผู้นำชุมชน (เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) /ประชาสังคม (องค์กรภาคเอกชนและภาคสังคม เช่น สสส. สปสช. สื่อมวลชน พระ ครู ปราชญ์ชาวบ้าน เครือข่ายองค์กรงดเหล้า ฯลฯ) ผู้ประกอบการ เครือข่ายผู้ประกอบการ ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ให้สามารถตัดสินใจ และแสดงบทบาท สนับสนุนและสร้างสภาวะแวดล้อมให้ชุมชนมีการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างเป็นรูปธรรม - องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ(กทม./สสจ/เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง - องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ/สสจ/กทม./เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภ 3

ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ) ระดับกระบวนการ คำนิยาม - มีการบริหารจัดการ สนับสนุนและพัฒนาการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน โครงการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ - มีการบริหารจัดการ สนับสนุน และพัฒนาแบบบูรณาการ (งาน, เงิน, คน, การบริหารจัดการ) ภาคีเครือข่ายทุกระดับ (ประเทศ /เขต /จังหวัด และท้องถิ่น) มีความรู้และทักษะการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน /โครงการพร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ -มีระบบสื่อสาร การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน -มีการจัดทำหรือสนับสนุนระบบการสื่อสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หลายช่องทาง (สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ สื่อบุคคล และสื่อท้องถิ่น ฯลฯ) ที่เข้าถึงทุกครัวเรือน - มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ -มีระบบการจัดการองค์ความรู้ และนวัตกรรมกระบวนพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภ 4

ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ) ระดับพื้นฐานองค์กร คำนิยาม -องค์กรสุขภาพมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย องค์กรสุขภาพทุกระดับ/เครือข่ายสุขภาพทุกระดับ(หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ สถานีอนามัย/สถานบริการสาธารณสุข/ศูนย์สุขภาพชุมชน/ศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ หน่วยบริการตติยภูมิ เฉพาะที่อยู่ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ) สำนักงานวิชาการส่วนกลางสังกัดกรมควบคุมโรค มีความรู้และคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย องค์กรมีข้อมูลภัยสุขภาพ (ข้อมูลสภาวะสุขภาพ ข้อมูลการตายที่เกิดจากโทษและผลกระทบของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) ข้อมูลด้านภัยสังคม (ภัยด้านสังคมที่มีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสนับสนุน โดยการเชื่อมโยงกับข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ) ที่มีคุณภาพ ครอบคลุม เชื่อมโยง และสามารถเข้าถึงได้ง่าย              องค์กรสุขภาพมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการทำงาน บุคลากรในองค์กรสุขภาพ และเครือข่ายองค์กรสุขภาพ มีความรู้และทักษะ และมีสมรรถนะที่เหมาะสมเอื้อต่อการทำงาน ภ 5

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายใน พ.ศ. 2553 (สร้างเมื่อ 21 ตุลาคม 2552) ประชาชนควบคุมดูแลสถาวะ แวดล้อมด้านสังคม/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านบริโภคฯ ชุมชน มีมาตรการ ทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชน โดยชุมชน ประชาชน ประชาชน มีระบบเฝ้าระวัง และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมดำเนินงานสร้างมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กร ประชาสังคม ภาคีผู้ประกอบการ มีบทบาท/แสดงบทบาทพัฒนาสุขภาพ หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ คณะกรรมการตามกฎหมายฯสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศ มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวย ต่อการทำงาน ระบบข้อมูลสุขภาพและภัยสังคมมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะ ที่เหมาะสม

จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนควบคุมดูแลสถาวะ แวดล้อมด้านสังคม/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านบริโภคฯ จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ประชาชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ประชานมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน มีระบบเฝ้าระวัง และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ อปท.ร่วมดำเนินงานสร้างมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กร ประชาสังคม ภาคีผู้ประกอบการ มีบทบาท/แสดงบทบาทพัฒนาสุขภาพ ทำบันทึกความร่วมมือ ภาคี หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ คณะกรรมการตามกฎหมายฯสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลสุขภาพและภัยสังคมมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) พื้นฐาน บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะที่เหมาะสม