การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
การปรับเปลี่ยนประมาณการใช้ยา และการคืนยา (ปรับ FM3)
โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ สปส.
แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน
การกระจายผลิตภัณฑ์ในเชิงกายภาพ
Gems and Jewelry Electronic Commerce
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
Introduction to Education Criteria for Performance Excellence (ECPE)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
มีหมายเลข IP Address มากกว่าเดิมมาก ทำให้เพียงพอต่อความ ต้องการของผู้ใช้ เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือมากขึ้นกว่าเดิม เพราะเป็นการใช้งาน IP จริงทั้งหมด.
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
VMI (Vendor Managed Inventory)
การเก็บรักษาและการเบิก-จ่าย วัคซีนเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Chapter4 Logistic & Supply chain Management
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
KPI รองคณบดีฝ่ายบริหาร
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
Computer Application in Customer Relationship Management
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Transaction Processing Systems
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารเวชภัณฑ์.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
Functional Level Strategy
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Customer Relationship Management: CRM
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
E-Business Transformation and digital strategies
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
สินค้าคงเหลือ.
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
ความหมายของการบริการ
สืบเนื่องมาจากเมื่อเดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท Hauni ประเทศเยอรมัน ซึ่งเป็นตัวแทนจำหน่ายอะไหล่เครื่องจักรเครื่องมวนบุหรี่ ต้องการทำ VMI กับ รยส.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม

e-Business e-Procurement e-Commerce ENTERPRISE RESOURCE PLANNING BUSINESS INTELLIGENCE (MIS) ENTERPRISE RESOURCE PLANNING Suppliers Customers Supply Chain Management B2B SMI B2B VMI B2B Replenishment Buy-Side B2B Replenishment Sell-Side Customers Manufacturing e-Auction eMarketplace B2B e-Ordering Account and Finance Customers

การบริหารโครงการ VMI วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารสินค้าคงคลังและการกระจายยา เพื่อให้มียาหมุนเวียนและกระจายไปทั่วประเทศได้อย่างสม่ำเสมอ และสามารถบริการผู้ป่วยให้ได้รับยา รักษาอย่างต่อเนื่อง

Vendor Managed Inventory (VMI) เป็นระบบที่ผู้ขายเข้าไปช่วยดูแลบริหาร สินค้าคงคลังให้แก่ผู้ซื้อ เพื่อให้ผู้ซื้อมีปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม โดยนำสินค้าไปเติมเต็มให้เมื่อสินค้าคงคลัง ลดลงถึงระดับที่กำหนด (Reorder Point)

Reorder Point : Safety Stock + Lead time of delivery (จุดสั่งซื้อ) จุดหรือระดับของ Stock คงเหลือ ซึ่งต้องนำสินค้าไปเติมเต็มให้เมื่อ Stock คงเหลือลดลงถึงระดับที่กำหนด Reorder Point : Safety Stock + Lead time of delivery

วิธีคำนวณจุดสั่งซื้อ (Reorder Point) จุดสั่งซื้อ = ระดับปลอดภัย + ระยะเวลาตั้งแต่โรงพยาบาลบันทึกข้อมูลถึงรับยา (Reorder Point) (Safety Stock) (Lead Time of Delivery) ตัวอย่าง Safety Stock = 30 วัน Lead Time = 7 วัน Reorder Point = 30+7 = 37 วัน แปลงจำนวนวันให้เป็นจำนวนยาโดยใช้อัตราการใช้ยาต่อวันโดยประมาณ สมมติว่าอัตราการใช้ต่อวัน = 1 ขวด Reorder Point = 37 x 1 = 37 ขวด เมื่อโรงพยาบาล บันทึกค่า Inventory Onhand มาให้ และยาในคลังลดลงต่ำกว่าหรือเท่ากับจุดสั่งซื้อ องค์การจะนำยาไปส่งมอบให้ตามจำนวนที่โรงพยาบาลกำหนด

การบริหารโครงการ VMI ขององค์การเภสัชกรรม ยาที่เข้าโครงการ ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) - สำนักงานประกันสังคม - กรมควบคุมโรค - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - กรมอนามัย ยา OSELTAMIVIR , INFLUENZA VACCINE - กรมควบคุมโรค ยากลุ่ม 181 รายการ - โรงพยาบาล

ผลลัพธ์ที่ได้จากการบริหารคลังยาระบบ VMI - ลด Stock - ลด Inventory cost - รพ. พึงพอใจเนื่องจากลดปริมาณการสำรองยา และมียาใช้เพียงพอตลอดเวลา - รพ. ได้รับยาที่ผลิตใหม่ ลดการสูญเสียจาการทำลายยาที่ รพ.ส่งคืน ยาที่หมดอายุ - เพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการบริหารคลังยา - ประชาชนได้รับยาที่มีคุณภาพในราคาสมเหตุผล (reasonable price) - ประเทศชาติลดการสูญเสียทรัพยากรจากการทำลายยาหมดอายุ - รักษาสภาพแวดล้อมอันเนื่องจากมีการทำลายยาหมดอายุลดลง

แนวทางการทำ VMI ของ อภ. 1. ใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ หรือสัญญาซื้อขาย 2. ทำบันทึกข้อตกลงบริหารสินค้าคงคลังให้ลูกค้า (VMI) 3. ให้ รพ. เลือกวิธีส่งข้อมูลสินค้าคงคลัง - Internet - Fax

ส่งของพร้อม Invoice และรายงานฯ VMI คลังยาโรงพยาบาล องค์การเภสัชกรรม Upload or Key in Onhand ตรวจสอบ VMI Onhand ส่งของพร้อม Invoice และรายงานฯ

โรงพยาบาลจัดส่งข้อมูลสินค้าคงคลัง ให้องค์การเภสัชกรรมทาง FAX

ผลการประเมินโครงการ VMI จากการประเมินของ บริษัท ฟอร์ไซท์ รีเสิร์ซ จำกัด ในปี 2548 บริษัท อินฟอร์เสิร์ซ จำกัด ในปี 2549-2550 ลูกค้า : พอใจในระบบ VMI สูง KPI : จำนวนครั้งในการส่งมอบสินค้าที่ไม่ทันตามกำหนดเวลาต่อจำนวนครั้งในการส่งมอบทั้งหมด = 0 ครั้ง

การบริหารโครงการ VMI INFLUENZA VACCINE โดย กรมควบคุมโรค + โรงพยาบาลองค์การเภสัชกรรม

เข้าสู่เวบไซต์ขององค์การเภสัชกรรมที่ http://www.gpo.or.th เข้าสู่เวบไซต์ขององค์การเภสัชกรรมที่ http://www.gpo.or.th คลิกที่ปุ่ม VMI / SMI เพื่อเข้ามา Log in

ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ติดต่อ คุณอำพล โทร. 0-2354-8855 มือถือ 084-700-3924 คุณกิตติ โทร. 0-2203-8914 มือถือ 081-384-6079 คุณศรีสมัย โทร. 0-2203-8927 มือถือ 084-700-3926 คุณวัชรี โทร. 0-2203-8986 มือถือ 083-040-2104 คุณกันยา โทร. 0-2203-8902 มือถือ 081-296-9357 คุณวาสนา โทร. 0-2203-8902 มือถือ 087-006-9882 คุณวีรภาพรรณ โทร. 0-2203-8936 มือถือ 084-751-7096 คุณคำนูนพจน์ โทร. 0-2203-8968 มือถือ 084-751-7100 คุณสุชาดา โทร. 0-2203-8102 มือถือ 081-371-3491 Fax.0-2203-8909, 0-2354-8777

ขอบคุณค่ะ