การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม
e-Business e-Procurement e-Commerce ENTERPRISE RESOURCE PLANNING BUSINESS INTELLIGENCE (MIS) ENTERPRISE RESOURCE PLANNING Suppliers Customers Supply Chain Management B2B SMI B2B VMI B2B Replenishment Buy-Side B2B Replenishment Sell-Side Customers Manufacturing e-Auction eMarketplace B2B e-Ordering Account and Finance Customers
การบริหารโครงการ VMI วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารสินค้าคงคลังและการกระจายยา เพื่อให้มียาหมุนเวียนและกระจายไปทั่วประเทศได้อย่างสม่ำเสมอ และสามารถบริการผู้ป่วยให้ได้รับยา รักษาอย่างต่อเนื่อง
Vendor Managed Inventory (VMI) เป็นระบบที่ผู้ขายเข้าไปช่วยดูแลบริหาร สินค้าคงคลังให้แก่ผู้ซื้อ เพื่อให้ผู้ซื้อมีปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม โดยนำสินค้าไปเติมเต็มให้เมื่อสินค้าคงคลัง ลดลงถึงระดับที่กำหนด (Reorder Point)
Reorder Point : Safety Stock + Lead time of delivery (จุดสั่งซื้อ) จุดหรือระดับของ Stock คงเหลือ ซึ่งต้องนำสินค้าไปเติมเต็มให้เมื่อ Stock คงเหลือลดลงถึงระดับที่กำหนด Reorder Point : Safety Stock + Lead time of delivery
วิธีคำนวณจุดสั่งซื้อ (Reorder Point) จุดสั่งซื้อ = ระดับปลอดภัย + ระยะเวลาตั้งแต่โรงพยาบาลบันทึกข้อมูลถึงรับยา (Reorder Point) (Safety Stock) (Lead Time of Delivery) ตัวอย่าง Safety Stock = 30 วัน Lead Time = 7 วัน Reorder Point = 30+7 = 37 วัน แปลงจำนวนวันให้เป็นจำนวนยาโดยใช้อัตราการใช้ยาต่อวันโดยประมาณ สมมติว่าอัตราการใช้ต่อวัน = 1 ขวด Reorder Point = 37 x 1 = 37 ขวด เมื่อโรงพยาบาล บันทึกค่า Inventory Onhand มาให้ และยาในคลังลดลงต่ำกว่าหรือเท่ากับจุดสั่งซื้อ องค์การจะนำยาไปส่งมอบให้ตามจำนวนที่โรงพยาบาลกำหนด
การบริหารโครงการ VMI ขององค์การเภสัชกรรม ยาที่เข้าโครงการ ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) - สำนักงานประกันสังคม - กรมควบคุมโรค - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ - กรมอนามัย ยา OSELTAMIVIR , INFLUENZA VACCINE - กรมควบคุมโรค ยากลุ่ม 181 รายการ - โรงพยาบาล
ผลลัพธ์ที่ได้จากการบริหารคลังยาระบบ VMI - ลด Stock - ลด Inventory cost - รพ. พึงพอใจเนื่องจากลดปริมาณการสำรองยา และมียาใช้เพียงพอตลอดเวลา - รพ. ได้รับยาที่ผลิตใหม่ ลดการสูญเสียจาการทำลายยาที่ รพ.ส่งคืน ยาที่หมดอายุ - เพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลในการบริหารคลังยา - ประชาชนได้รับยาที่มีคุณภาพในราคาสมเหตุผล (reasonable price) - ประเทศชาติลดการสูญเสียทรัพยากรจากการทำลายยาหมดอายุ - รักษาสภาพแวดล้อมอันเนื่องจากมีการทำลายยาหมดอายุลดลง
แนวทางการทำ VMI ของ อภ. 1. ใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ หรือสัญญาซื้อขาย 2. ทำบันทึกข้อตกลงบริหารสินค้าคงคลังให้ลูกค้า (VMI) 3. ให้ รพ. เลือกวิธีส่งข้อมูลสินค้าคงคลัง - Internet - Fax
ส่งของพร้อม Invoice และรายงานฯ VMI คลังยาโรงพยาบาล องค์การเภสัชกรรม Upload or Key in Onhand ตรวจสอบ VMI Onhand ส่งของพร้อม Invoice และรายงานฯ
โรงพยาบาลจัดส่งข้อมูลสินค้าคงคลัง ให้องค์การเภสัชกรรมทาง FAX
ผลการประเมินโครงการ VMI จากการประเมินของ บริษัท ฟอร์ไซท์ รีเสิร์ซ จำกัด ในปี 2548 บริษัท อินฟอร์เสิร์ซ จำกัด ในปี 2549-2550 ลูกค้า : พอใจในระบบ VMI สูง KPI : จำนวนครั้งในการส่งมอบสินค้าที่ไม่ทันตามกำหนดเวลาต่อจำนวนครั้งในการส่งมอบทั้งหมด = 0 ครั้ง
การบริหารโครงการ VMI INFLUENZA VACCINE โดย กรมควบคุมโรค + โรงพยาบาลองค์การเภสัชกรรม
เข้าสู่เวบไซต์ขององค์การเภสัชกรรมที่ http://www.gpo.or.th เข้าสู่เวบไซต์ขององค์การเภสัชกรรมที่ http://www.gpo.or.th คลิกที่ปุ่ม VMI / SMI เพื่อเข้ามา Log in
ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ติดต่อ คุณอำพล โทร. 0-2354-8855 มือถือ 084-700-3924 คุณกิตติ โทร. 0-2203-8914 มือถือ 081-384-6079 คุณศรีสมัย โทร. 0-2203-8927 มือถือ 084-700-3926 คุณวัชรี โทร. 0-2203-8986 มือถือ 083-040-2104 คุณกันยา โทร. 0-2203-8902 มือถือ 081-296-9357 คุณวาสนา โทร. 0-2203-8902 มือถือ 087-006-9882 คุณวีรภาพรรณ โทร. 0-2203-8936 มือถือ 084-751-7096 คุณคำนูนพจน์ โทร. 0-2203-8968 มือถือ 084-751-7100 คุณสุชาดา โทร. 0-2203-8102 มือถือ 081-371-3491 Fax.0-2203-8909, 0-2354-8777
ขอบคุณค่ะ