4 กุมภาพันธ์ 2554 ค่าตอบแทนตามความขาดแคลน บุคลากรในโรงพยาบาล
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง ประเด็นแรก ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการ สาธารณสุข ประเด็นที่สอง ค่าตอบแทนบุคลากรด้านสาธารณสุข ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข มีการสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบหลายด้าน เช่น 1. มาตรฐานวิชาชีพ และการเข้าถึงบริการของประชาชน (standardization & accessibility) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพกับผู้ป่วย (relationship) 3. ผลกระทบด้านการเงินการคลัง (cost & benefit) 4. กองทุนกับประสิทธิภาพ (cost & effectiveness) 5. เพดานการใช้จ่ายกับกองทุน (cost containment) นอกจากนี้เนื้อหาของร่างพ.ร.บ.ฯ ยังเปิดช่องให้มีการแสวงหาอำนาจ และผลประโยชน์ ของบุคคลบางกลุ่ม ความเห็นเป็นหนึ่งเดียว คือ คัดค้านร่างพ.ร.บ.ฉบับนี้ โดยจะมีการแสดงออก เชิงสัญลักษณ์พร้อมกันทั่วประเทศ
ข้อเสนอหลักเกณฑ์ ระดับความขาดแคลนของบุคลากร พิจารณาจากข้อมูล 5 ลักษณะ จัดน้ำหนักแต่ละลักษณะเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.ความขาดแคลนในการสรรหาบุคลากร น้ำหนัก 3 = สรรหาได้ยากมาก น้ำหนัก 2 = สรรหาได้ค่อนข้างยาก น้ำหนัก 1 = ไม่มีปัญหาถ้าได้บรรจุเป็นข้าราชการ 2.ความขาดแคลนตามความสูญเสียบุคลากร น้ำหนัก 3 = ระดับรุนแรง(ลาออกตั้งแต่ 10%ขึ้นไปของการ รับเข้าใหม่ น้ำหนัก 2 = มีแนวโน้มสูง(ลาออกน้อยกว่า10%ของการ รับเข้าใหม่ น้ำหนัก 1 =ความสูญเสียน้อย
ข้อเสนอหลักเกณฑ์ ระดับความขาดแคลนของบุคลากร พิจารณาจากข้อมูล 5 ลักษณะ จัดน้ำหนักแต่ละลักษณะเป็น 3 ระดับ ดังนี้ (ต่อ) 3.การถูกกำหนดให้ต้องทำงานนอกเวลา น้ำหนัก 3 = ทำงานล่วงเวลาเกินกว่ามาตรฐานมาก น้ำหนัก 2 = ทำงานล่วงเวลาเกินกว่ามาตรฐานปานกลาง น้ำหนัก 1 =ทำงานล่วงเวลาไม่เกินมาตรฐาน 4.ความขาดแคลนตามกรอบอัตรากำลังที่องค์กรวิชาชีพกำหนด น้ำหนัก 3 = ขาดมาก(มากกว่า 5%) น้ำหนัก 2 = ขาดปานกลาง(26-50%) น้ำหนัก 1 = ขาดน้อย(10-25%)
ข้อเสนอหลักเกณฑ์ ระดับความขาดแคลนของบุคลากร พิจารณาจากข้อมูล 5 ลักษณะ จัดน้ำหนักแต่ละลักษณะ เป็น 3 ระดับ ดังนี้(ต่อ) 5.ผลกระทบของความขาดแคลนอัตรากำลังที่องค์กร วิชาชีพกำหนด น้ำหนัก 3 = กระทบมาก น้ำหนัก 2 = กระทบปานกลาง น้ำหนัก 1 = กระทบน้อย
วิธีหาระดับความขาดแคลน ให้นำน้ำหนักทั้งหมดรวมกันและจัดระดับดังนี้ ระดับ 1 หมายถึง มีน้ำหนักตั้งแต่ 5-8 ระดับ 2 หมายถึง มีน้ำหนักตั้งแต่ 9-12 ระดับ 3 หมายถึง มีน้ำหนักตั้งแต่ 13-15
แบ่งระดับความขาดแคลนบุคลากร ในแต่ละสถานบริการ ตามเกณฑ์ที่องค์กรวิชาชีพกำหนดและหน่วย ราชการต้นสังกัดเห็นชอบ จัดเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 ขาดแคลนมากกว่าร้อยละ 15 แต่ไม่ เกินร้อยละ 25 ระดับ 2 ขาดแคลนมากกว่าร้อยละ 25 แต่ไม่ เกินร้อยละ 50 ระดับ 3 ขาดแคลนมากกว่าร้อยละ 50
ค่าตอบแทนตามความขาดแคลนบุคลากรใน โรงพยาบาลทั้งหมดของ สปสธ. วิชาชีพจำนวน บุคลากร ระดับอัตรา(บาท /คน/ เดือน) รวมต่อปี (ล้านบาท) แพทย์10,800220,0002,592 ทันตแพทย์3,000210, เภสัชกร4,70014, พยาบาล66,00024,0003,168 สหวิชาชีพ2,30012,25062 รวม6,435
ค่าตอบแทนตามความขาดแคลนบุคลากรใน โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป วิชาชีพจำนวน บุคลากร ระดับอัตรา(บาท /คน/ เดือน) รวมต่อปี (ล้านบาท) แพทย์6,000220,0001,440 ทันตแพทย์940210, เภสัชกร2,00014, พยาบาล33,20024,0001,594 สหวิชาชีพ1,60012,25043 รวม3,297