การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
การใส่หมายเลขหน้าข้อความ ปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ หมายเลขหน้าข้อความ
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
ปฏิบัติการที่ 4 การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
สศ การเมืองและการปกครองของไทย POL
for Beginning & Publishing
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Chapter 2 : Character and Fonts
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
Microsoft Word Part II Government Savings Bank Computer Training Í
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การตกแต่งเอกสาร การเลือกรูปแบบและขนาดของตัวอักษร
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
แก้ไขปรับปรุง Form.
การพิมพ์ข้อความ และการสร้างตาราง
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
ขั้นตอนการประดิษฐ์ที่รองแก้ว
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
เลนส์นูน.
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
รายงาน เรื่อง จัดรูปแบบข้อมูล จัดทำโดย ด. ญ. ธิกานดา วัลยาภรณ์ ชั้นม.2/1 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ ภานุมาศ ชาติมองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
การกำหนดลักษณะตัวอักษร
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การวัดผลและประเมินผลการศึกษา วิชาการจัดการสินค้าและสินค้าคงคลัง
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
WorkShop I (10 points) ค้นหาข้อมูลบน Internet ทำเป็นชิ้นงานส่งมา ทาง – เลขที่ 1-5 ความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ – เลขที่ 6-10 กระบวนการผลิตสารสนเทศ.
รายงานการศึกษาค้นคว้า
การสร้างแบบเสื้อและแขน
คู่มือการใช้งาน P OWER P OINT 2007 ฉบับนักเรียน.
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
รูปแบบรายงาน ผศ.ธนู บุญญานุวัตร
และการทำงานกับตัวอักษร
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การจัดรูปแบบเอกสาร Microsoft Word 2007.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบที่นิยมมีด้วยกัน 3 แบบ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์ โดย นางสาวนงลักษณ์ นพสุวรรณ งานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

การตั้งค่าหน้ากระดาษ การเว้นระยะจากขอบกระดาษ - ด้านบน และด้านซ้าย 1.5 นิ้ว เท่ากับ 3.81 ซม. ด้านขวา และด้านล่าง 1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 ซม. การเว้นระยะการตั้งค่าตัวเลขหน้า - ด้านบน และด้านขวา 1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 ซม.

รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง ความสูง 3.57 ซม. ความกว้าง 2.85 ซม. เว้นระยะ 16 พ. รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง เว้นระยะเท่ากัน ตามนักศึกษาที่สังกัด วิทยานิพนธ์ เว้นระยะ 16 พ. ตัวอักษร 18 พ. ตัวหนา จัดกลาง

รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง เว้นระยะเท่ากัน ตามนักศึกษาที่สังกัด วิทยานิพนธ์ เว้นระยะ 16 พ. ตัวอักษร 18 พ. ตัวหนา จัดกลาง

รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง รูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ตัวอักษร 22 พ. ตัวหนา จัดกลาง เว้นระยะเท่ากัน ตามนักศึกษาที่สังกัด วิทยานิพนธ์ เว้นระยะ 16 พ. ตัวอักษร 18 พ. ตัวหนา จัดกลาง

ตามนักศึกษาที่สังกัด เว้น 1.27 ซม. ตัวหนา 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. เว้นระยะ 12 พ. ตัวหนา 16 พ. เส้น ½ พ. เว้นระยะเท่ากัน Enter 2 ครั้ง 16 พ. วิทยานิพนธ์ ตามนักศึกษาที่สังกัด ย่อหน้าตรงกัน คือ 1.8 ซม. เท่ากับ อักษร 8 ตัว

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้น 1.27 ซม. ตัวหนา 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. เว้นระยะ 12 พ.

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้น 1.27 ซม. ตัวหนา 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. เว้นระยะ 12 พ.

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้นระยะ 16 พ. Enter 2 ครั้ง เว้นระยะ 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. ชิดขวา ไม่ใส่คำนำหน้านาม

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้นระยะ 16 พ. ตัวหนา 16 พ. ชิดขวา ส่วนต้นตัวหนา 16 พ. ชิดซ้าย ส่วนต้น ตัวธรรมดา 16 พ. ชิดขวา ตัวหนา 16 พ. ส่วนต้น ตัวธรรมดา 16 พ. ชิดขวา ตัวธรรมดา 16 พ. เริ่มพิมพ์ตรงกับอักษรตัวแรก ส่วนเนื้อหา

ด้านบน และด้านขวา ระยะห่าง 2.54 ซม.

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้นระยะ 16 พ. ตัวหนา 16 พ. ชิดขวา ตัวหนา 16 พ. ชิดขวา เลขหน้า ตัวธรรมดา 16 พ. ชิดขวา เลขตาราง ตัวธรรมดา 16 พ. จัดกลาง

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง เว้นระยะ 16 พ. ตัวหนา 16 พ. ชิดขวา ตัวหนา 16 พ. ชิดขวา เลขตาราง ตัวธรรมดา 16 พ. จัดกลาง เลขหน้า ตัวธรรมดา 16 พ. ชิดขวา

ชื่อบท ตัวหนา 22 พ. จัดกลาง ย่อหน้า 1.8 ซม. ขนาด 16 พ. เว้นระยะ 16 พ. เว้นระยะ 16 พ. หัวข้อใหญ่ ตัวหนา 18 พ. ชิดซ้าย หัวข้อรอง ตัวหนา 16 พ. ย่อหน้า 1.8 ซม. ตัวธรรมดา 16 พ. เริ่มพิมพ์ตรงตัวอักษรแรก

ตัวอย่างการพิมพ์เนื้อหาบทที่ 1 เป็นเนื้อหาส่วนนำของวิทยานิพนธ์ ที่กล่าวถึงหัวข้อต่าง ๆ คือ ความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะเป็นต้น

ตัวอย่างการพิมพ์เนื้อหาบทที่ 2 เป็นส่วนที่รวบรวมทฤษฎี หลักการ ข้อมูล และผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือข้อมูลพื้นฐานที่มีผู้ทำไว้ก่อน

ตัวอย่างการพิมพ์เนื้อหาบทที่ 3 กำหนดให้ระบุแนวทางหรือแผนการดำเนินการวิจัย วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่ใช้ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวม และวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

ตัวอย่างการพิมพ์เนื้อหาบทที่ 4 ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย ประกอบไปด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการแปลผลของผลการวิเคราะห์

ตัวอย่างการพิมพ์เนื้อหาบทที่ 5 สรุปเรื่องในวิทยานิพนธ์ทั้งหมด พร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะสำหรับงานวิจัยตลอดจนประโยชน์ในทางประยุกต์ของผลการวิจัยที่ดี

เว้นระยะ 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ.จัดกลาง ตัวหนา 16 พ.จัดกลาง ตัวธรรมดา 16 พ.จัดกลาง

เว้นระยะ 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. ตัวหนา 16 พ. ตัวหนา 16 พ. เส้นคู่ ขนาด ½ พ. ตัวหนา 16 พ. เว้นระยะ 16 พ.

ไม่ต้องขีดเส้น.

ตัวหนา 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ.

ตัวหนา ขนาด 20 พ. จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ

ตัวหนา ขนาด 18 พ. ตัวหนา ขนาด 16 พ.

ตัวหนา ขนาด 22 พ. จัดกึ่งกลาง เว้น 1.27 ซม. เว้นระยะ 16 พ. ตัวธรรมดา 16 พ. ตัวหนา 16 พ.

ตัวอย่างการพิมพ์สันปก ตัวหนา ขนาด 22 พ. ตัวอย่างการพิมพ์สันปก การพิมพ์สันปกใช้อักษร Angsana New ขนาด 22 พ. ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. ชื่อเรื่อง ให้พิมพ์ภาษาไทย หากชื่อเรื่องยาวเกิน 1 บรรทัด ให้ชิดซ้าย 2. ชื่อ-นามสกุลผู้เขียน ให้พิมพ์ภาษาไทย โดยไม่มีคำนำหน้านาม 3. พ.ศ. ให้พิมพ์เป็นอารบิค และให้พิมพ์ปีที่ส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ให้กับงานบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ขอขอบพระคุณ งานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ http://graduate.pcru.ac.th 056-717100 ต่อ 1906 1912