ห้องแกรนด์ บอลรูม ชั้น G โรงแรมรามาการ์เด้นส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
Advertisements

มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
Graduate School Khon Kaen University
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
แผนการใช้จ่ายและยกยอดข้ามปีงบประมาณ 2553
กองแผนและจัดทำงบประมาณ สปช.ทร.
การถ่ายทอดองค์ความรู้งานพัสดุ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ชั้น 2 อาคารสารสนเทศ ตั้งแต่เวลา น. เป็นต้นไป จัดทำโดย ขั้นตอนการแจ้งซ่อม.
- ไม่ต้องกันเงินใช้มาตรการ ที่ นร 0506/ว 123 ลว. 14 มิถุนายน 2553
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ร่างระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นโยบายการคลัง.
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การขอให้จัดหาครุภัณฑ์ / จัดจ้าง
งานพัสดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
การประชุมเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
รายงานระบบจัดซื้อจัดจ้าง ผ่าน Web Online
ศูนย์บริหารโครงการเงินกู้ เพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ำและสร้างอนาคต ประเทศ ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ 879/2555 ตามคำสั่งกรมอุทยานแห่งชาติ
รายงานสถานภาพงบประมาณ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
ภาพรวมระบบการทำงาน GFMIS-TR สำนักบริหารหนี้สาธารณะ
การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ และเตรียมการอบรมการใช้งาน
สำนักงานคลังจังหวัดอุทัยธานี
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
Web Report.
Web Report.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
การบริหารงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงบประมาณ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
เอกสารประกอบ การประชุมผู้บริหารกรมป่าไม้ วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ. ศ.2557 ณ จังหวัดตรัง จัดทำโดย สำนักแผนงานและสารสนเทศ กรม ป่าไม้ กรมป่า ไม้
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.

งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
การประชุม พิจารณาแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาฯ ปี 2557 ห้องประชุมศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 24 กันยายน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
Assessment and Evaluation System
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
โครงการจัดทำระบบการติดตามและบริหาร งบประมาณของกรมทางหลวงชนบท (MBMS)
ด้านบริหารงานงบประมาณ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ที่มา : ของการพัฒนาระบบ 1. ยังไม่มีการติดตามรายรับที่จัดเก็บได้อย่าง จริงจัง ทำให้ไม่ทราบสถานการณ์ทางการเงินของ ส่วนงาน 2. การประมาณการรายรับสูงกว่ารายรับจริงที่
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องแกรนด์ บอลรูม ชั้น G โรงแรมรามาการ์เด้นส์ การจัดทำระบบการติดตามและรายงานผลโครงการ ภายใต้แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 (ไทยเข้มแข็ง 2555) (Projects Financial Monitoring System (PFMS-SP2) วันที่ 6 มกราคม 2553 เวลา 9.00น.- 12.00น. ห้องแกรนด์ บอลรูม ชั้น G โรงแรมรามาการ์เด้นส์

หัวข้อการประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์โครงการ ขั้นตอนการดำเนินงานและติดตามโครงการลงทุน SP2 รูปแบบการนำเข้าข้อมูล การบันทึกข้อมูลโครงการเพื่อการติดตามโครงการไทยเข้มแข็ง ด้านเงิน ผ่าน Web Form การบันทึกข้อมูลโครงการเพื่อการติดตามโครงการไทยเข้มแข็ง ด้านงาน ผ่าน E-Form

วัตถุประสงค์การจัดทำระบบ PFMS-SP2

วัตถุประสงค์การจัดทำระบบ PFMS-SP2 1. เพื่อจัดทำระบบการติดตามและรายงานผลโครงการลงทุนขนาด ใหญ่ของรัฐ ที่สามารถระบุแผนการดำเนินโครงการตามงวดงานที่ สำคัญ (Work Achievement Milestones) และแผนการเบิก จ่ายเงินตามงวดเงิน (Disbursement Milestones) ที่สอดคล้อง กับความสำเร็จของงานตามงวดงานที่กำหนด อันทำให้สำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ สามารถวางแผนการกู้เงินและแผนการโอนเงิน เข้าสู่บัญชีเงินคงคลังที่ 1 ได้ใกล้เคียงเวลากับงวดการเบิกจ่ายเงิน จริง ทำให้ลดภาระดอกเบี้ยของการกู้ยืมเงินของรัฐ รวมทั้งชลอการ กู้เงินของโครงการที่ไม่สามารถดำเนินการได้สำเร็จตามเป้าหมาย และระยะเวลาที่กำหนด

วัตถุประสงค์การจัดทำระบบ PFMS-SP2 (ต่อ) 2. เพื่อให้สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสามารถจัดทำรายงาน ทั้งด้านปฏิบัติการ การวิเคราะห์และการบริหาร ให้แก่กระทรวงการคลัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคณะรัฐมนตรี ตามมิติ (Dimension) ของข้อมูลที่สำคัญ อันได้แก่ หน่วยงานเจ้าของโครงการ ทั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ แหล่งของเงินลงทุน (Source of Fund) เช่น เงินงบประมาณประจำปี, เงินกู้ ในประเทศ/ต่างประเทศ, เงินกู้ SP-2, เงินรายได้รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น สาขาการลงทุน/ด้านการพัฒนา เช่น การบริหารทรัพยากรน้ำ, Logistics เป็นต้น แผนงาน ระยะเวลา งวดการดำเนินงาน และ %ความสำเร็จของงาน วงเงินลงทุน เปรียบเทียบการเบิกจ่ายเงินจริงกับแผนการเบิกจ่ายเงิน ตาม งวดการเบิกจ่ายที่สอดคล้องกับงวดการดำเนินงาน ตลอดระยะเวลาโครงการ ลงทุน ประเภทของการใช้จ่ายเงิน เช่น การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์, Import content, การจ้างงาน เป็นต้น พื้นที่/จังหวัด ที่ดำเนินโครงการ รายละเอียดโครงการที่สำคัญ เอกสารราชการที่สำคัญ รายงานผล ความก้าวหน้าและความสำเร็จโครงการ

วัตถุประสงค์การจัดทำระบบ PFMS-SP2 (ต่อ) 3. เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้คณะกรรมการติดตามสถานะโครงการ SP-2 สามารถติดตามและรายงานผลความสำเร็จของโครงการ และการเบิกจ่ายเงิน ในแต่ละเดือน ไตรมาส ตลอดระยะเวลาโครงการ 4. เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลโครงการ SP-2 แก่ประชาชน โดยจัดทำ Web site ที่ต้องการใช้ในการประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการ

และติดตามโครงการลงทุน SP2 ขั้นตอนการดำเนินงาน และติดตามโครงการลงทุน SP2

ขั้นตอนการดำเนินงานและติดตามโครงการลงทุน SP2 คกก.กลั่นกรอง/ประเมินผล สงป. สรก./รส. เจ้าของโครงการ คกก.กลั่นกรอง/ประเมินผล โครงการ SP2 กระทรวงการคลัง สบน. สป.คลัง บก. 2.รวบรวมโครงการ SP2 เพื่อเสนอ คกก. 1.บันทึกข้อมูลโครงการที่ขอใช้เงิน SP2 ตาม Template 3.พิจารณาอนุมัติโครงการ SP2 และวงเงินลงทุน 4.กำหนดแหล่งที่มา ของเงิน 5.ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโครงการ และส่งข้อมูลให้ สป.คลัง 6.Upload รหัสโครงการเข้าระบบ GFMIS 8.บันทึกข้อมูลแผนการใช้จ่ายและระบุโครงการลงพื้นที่ 7.ดำเนินการจัดสรรงวดและพิมพ์ใบงวดใน GFMIS 9. บันทึกข้อมูลแผนงาน/งวดเงิน และรายละเอียดโครงการโดยประมาณการในระบบ GFMIS-PFMS-SP2 11.ประเมินความ ก้าวหน้าโครงการ SP2 แต่ละเดือน 10. บันทึกข้อมูลแผนงาน/งวดเงิน และรายละเอียดโครงการตามสัญญาในระบบ GFMIS 14.อนุมัติจ่ายและสั่งโอนเงินโครงการ SP2 12.รายงานความก้าวหน้าตามงวดงานที่กำหนดไว้ 15.เรียกดูรายงานประมาณการเบิกจ่ายเงิน (Cashflow forecast) E-Budgeting GFMIS 13.ทำรายการขอเบิกจ่ายเงินโครงการ SP2 16.บันทึกข้อมูลเงินกู้ GFMIS-PFMS-SP2 17.ติดตามสถานะ / ผลการดำเนินงาน รายโครงการ 8

โครงสร้างระบบการติดตามและรายงานผลโครงการ SP2 (PFMS-SP2)

โครงสร้างระบบการติดตามและรายงานผลโครงการ SP2 (PFMS-SP2) (ต่อ) 1.ระดับปฏิบัติงาน(Operation) 2. ระดับผู้บริหาร(Executives) 3.เผยแพร่สู่ประชาชน (Public) สรุปความก้าวหน้า รายสัปดาห์ Business Intelligence Online Real-time ตัวอย่างหน้าจอ

แผนผังการติดตามโครงการไทยเข้มแข็ง 11

รูปแบบการนำเข้าข้อมูล

การนำเข้าสถานะโครงการ Size มูลค่า ด้านเงิน ด้านงาน (กองคลัง) (สำนักนโยบายและแผน) L ตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป Web-Form E-Form M ตั้งแต่ 30 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท S ตั้งแต่ 5 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 30ล้านบาท รูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ (ผ่าน PFMS WEB Portal) SS ต่ำกว่า 5 ล้านบาท -

ข้อมูลแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่ายเงิน รายสัญญา Web - Form – for size L and M ข้อมูลแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่ายเงิน รายสัญญา

ไม่ต้องบันทึกแผนการเบิกจ่ายตามสัญญา Web – Form – for size S ไม่ต้องบันทึกแผนการเบิกจ่ายตามสัญญา

E- Form สำหรับ โครงการ Size L,M E-Form for Size L and M

E- Form สำหรับ โครงการ Size L,M

โครงการ Size S ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ ผ่าน PFMS WEB Portal เพื่อแสดงสถานที่ดำเนินโครงการใน แผนที่ Google MAP

การแสดงสถานที่ดำเนินโครงการพร้อมรายละเอียด โครงการใน Google Map สำหรับ โครงการ L, M, S

ตัวอย่างป้ายโครงการไทยเข้มแข็ง

การบันทึกข้อมูลเพื่อการติดตามโครงการไทยเข้มแข็ง ผ่าน Web Form และ E-Form

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบันทึกข้อมูล & รหัสผู้ใช้งาน Form หน่วยงาน User /Pwd WEB-Form กองคลัง/ พัสดุ หรือหน่วยงานที่ดูแลเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างและการเบิกจ่าย ใช้ชุดเดียวกับระบบ GFMIS WEB Online eForm กอง/สำนักแผนฯ หรือหน่วยงานที่ดูแลหรือติดตามเรื่องความก้าวหน้าของโครงการ จะมีการแจก user/Pwd และ Token Key ชุดใหม่ ให้ลำดับต่อไป

สรุปการแบ่งขนาดโครงการตามมูลค่าโครงการ และการบันทึกข้อมูลเพื่อการติดตามโครงการ มูลค่า (ล้านบาท) การนำเข้าข้อมูล การแสดงผล เงิน งาน L ตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป WEB-Form eForm Web TKK2555 E-Book Google Map M ตั้งแต่ 30 ล้านบาทแต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท S ตั้งแต่ 5 ล้านบาทแต่ไม่เกิน 30 ล้านบาท ส่งรูปถ่ายป้ายดำเนินโครงการ (ผ่าน PFMS Web Portal SS ต่ำกว่า 5 -

รหัสงบประมาณระบบ GFMIS โครงสร้างรหัสโครงการที่สัมพันธ์กับ รหัสงบประมาณและจังหวัดดำเนินงาน/เบิกจ่าย T. XXXXXXXXXXXXXXXX PPPP = 22 หลัก รหัสงบประมาณระบบ GFMIS 16 หลัก รหัสจังหวัด 4 หลัก T= โครงการไทยเข้มแข็ง ตัวอย่าง : T.15007A10214200081200 โครงการ ปรับปรุงเขื่อนป้องกันน้ำท่วม พ.ท.ปากเกร็ด มูลค่าโครงการ : 30 ล้านบาท

ข้อมูลที่ต้องบันทึกใน Web Form ระดับโครงการ เลือกรหัสโครงการที่ต้องการบันทึกข้อมูล ระบบแสดงข้อมูลโครงการ ชื่อโครงการ, แผน EvMIS , วงเงินอนุมัติโครงการ บันทึก จำนวนการจ้างงาน (คน) ระดับสัญญาภายใต้โครงการ แผน/ผลการจัดซื้อจัดจ้างและเอกสารแนบ เลขที่/ชื่อ สัญญา ชื่อคู่สัญญา ระยะเวลาดำเนินการ วงเงินสัญญา งวดการเบิกจ่ายเงินตามสัญญา แผน/ผล % ความสำเร็จของงาน รายไตรมาส

ระดับสัญญาภายใต้โครงการ ระดับโครงการ ระดับสัญญาภายใต้โครงการ

การบันทึกข้อมูลเพื่อการติดตามโครงการไทยเข้มแข็ง ด้านงาน ผ่าน E-Form

ดำเนินโครงการอื่น ๆ ใน E-Formดำเนินโครงการอื่น ๆ ใน E-Form สรุปขั้นตอนการบันทึกข้อมูลใน E-Form โครงการ ขนาด M ,L สำนักแผน ฯ Download E-Form ของแต่ละโครงการ ส่งให้หน่วยงานที่ดำเนินโครงการ โดยในแบบฟอร์มจะมีรายละเอียดเบื้องต้นของโครงการจากข้อมูลของสำนักงบประมาณ หน่วยงานที่ดำเนินโครงการ บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเช่น ความก้าวหน้าโครงการ พร้อม รูปถ่ายป้ายสถานที่ดำเนินโครงการที่มี พิกัด geo tag และ รูปถ่ายประกอบการ ดำเนินโครงการอื่น ๆ ใน E-Formดำเนินโครงการอื่น ๆ ใน E-Form สำนักแผน ฯ รวบรวม E-Form จากหน่วยงานที่ดำเนินโครงการ Upload กลับเข้าระบบเป็น รายเดือน โดยในแต่ละเดือนสามารถปรับปรุงข้อมูลใน E-Form และ Upload ได้มากกว่า 1 ครั้ง โดยระบบจะเก็บข้อมูลแยกเป็นรายเดือน และในแต่ละเดือนจะเก็บเฉพาะข้อมูลล่าสุดของเดือนนั้น ๆ ไว้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3

สรุปขั้นตอนการบันทึกข้อมูลของ โครงการ ขนาด S หน่วยงานที่ดำเนินโครงการ ส่งรูปถ่ายป้ายสถานที่ดำเนินโครงการ ที่มีพิกัด geo tag ให้กับสำนักแผน ฯ สำนักแผน ฯ ทำการ Upload รูปถ่ายป้ายสถานที่ดำเนินโครงการที่มี พิกัด geo tag ผ่านทาง PSMS Web Portal เพื่อเก็บข้อมูลในระบบ PFMS ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

การแสดงสถานที่ดำเนินโครงการ บนแผนที่ Google MAP

เมื่อเลือกโครงการ ระบบจะแสดงรายละเอียดโครงการ และ E-Book

ตัวอย่าง E-Book ของโครงการ