เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจ พอเพียง.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 414
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ พื้นที่เป้าหมาย (อำเภอ) เป้าหมาย (หน่วยนับ)
โครงการอาหารปลอดภัย (Food Safety)
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
เกษตรอินทรีย์ ชื่อกลุ่ม: ผลไม้ สมาชิกในกลุ่ม
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
การเจริญเติบโตของพืช
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน นายสิทธิพร บางแก้ว ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ 12 กรกฎาคม 2554

เกษตรอินทรีย์ คืออะไร ใช้หลักการพึ่งพิงความสมดุลตามธรรมชาติเพื่อสร้างสรรค์ให้เกิดระบบนิเวศน์ การเกษตรที่ยั่งยืน ผสมผสานระบบการเกษตรทุกระบบที่ส่งเสริมและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ เพื่อการผลิตอาหารและปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีพ ที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ใช้หลักการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศน์เกษตรให้เกิดการ ผสมผสานเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อเป็นการหมุนเวียนใช้ทรัพยากรในไร่นาให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลีกเลี่ยงการใช้ ปัจจัยการผลิตจากภายนอก ปฏิเสธการใช้ปัจจัยที่เป็นสารเคมีสังเคราะห์รวมทั้งพันธุ์พืชที่ผ่านการปรับเปลี่ยนทาง พันธุกรรม (Genetically Modified Organisms)

เกษตรอินทรีย์ หมายถึง เกษตรอินทรีย์ (ORGANIC AGRICULTURE) คือระบบการ จัดการด้านการเกษตรแบบองค์รวม ที่เกื้อหนุนต่อระบบนิเวศน์ วงจร ชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยงวัตถุดิบที่ได้จากการสังเคราะห์ และไม่ใช่พืช สัตว์ หรือ จุลินทรีย์ที่ได้มาจากการดัดแปรพันธุกรรม(Genetic Modification) หรือพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มีการจัดการกับ ผลิตภัณฑ์ โดยเน้นการแปรรูปด้วยความระมัดระวัง เพื่อรักษาสภาพ การเป็นเกษตรอินทรีย์ และคุณภาพที่สำคัญของผลิตภัณฑ์ในทุก ขั้นตอน

ทำไม จึงต้องทำเกษตรอินทรีย์ ? ทำไม จึงต้องทำเกษตรอินทรีย์

การทำการเกษตรเคมีส่งผลให้ รายจ่ายมากขึ้น เพราะ - ใช้สารเคมีมากขึ้น - ต้นทุนเพิ่มขึ้น - เป็นหนี้มากขึ้น

- ต้องใช้ปุ๋ยเคมีมากขึ้นทุกปี เพื่อให้ได้ผลผลิต เท่าเดิม สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย - ดินเป็นกรดสูงมาก ธาตุอาหารลดลง - ต้องใช้ปุ๋ยเคมีมากขึ้นทุกปี เพื่อให้ได้ผลผลิต เท่าเดิม - สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติถูกทำลาย เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ฯลฯ

สุขภาพแย่ลง - เกษตรกร - ผู้บริโภค ผลเสียต่อเศรษฐกิจของประเทศ - นำเข้าสารเคมีหลายหมื่นล้านบาทต่อปี - เสียงบประมาณในการรักษาผู้ป่วย เนื่องจาก สารเคมีตกค้างในอาหารหรือสัมผัสโดยตรง

จน สาเหตุของทุกข์เกิดจากเกษตรกรรมเคมี ผลผลิตต่อไร่ต่ำประมาณ 303 ก.ก./ไร่(สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) เกิดจากเกษตรเคมีทำให้ดินที่ดีเป็นดินตายหรือดินป่วย ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องมาจากพึ่งพาปัจจัยการผลิตจากภาย นอกเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ขาดแคลนแหล่งน้ำ มีพื้นที่ทำนาอยู่ในเขตชลประทาน 10% นอกนั้นพึ่งพาน้ำฝน จน

สาเหตุมาจากการใช้สารเคมีเกินมาตรฐาน เจ็บ สาเหตุมาจากการใช้สารเคมีเกินมาตรฐาน คนไทยตายด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 คือ 68.4 คนต่อประชากร 100,000 คน ปี พ.ศ.2544 มีคนไทยตายด้วยโรคมะเร็ง 40,000 คน

เจ็บ จากการตรวจหาสารเคมีในเลือดของเกษตรกร ใน จ.สุรินทร์ จำนวน 158,886 ราย( ปี 2543 – 2547 ) ปรากฏว่าพบสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงภัยและไม่ปลอดภัยจำนวน 45,700 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.76 นำไปสู่การเป็นโรคมะเร็ง อันเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย

เจ็บ (ต่อ) จำนวน 37,552 ราย ปรากฏว่าพบสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ เจ็บ (ต่อ) ปี 2546 จำนวนเกษตรกรที่ทำการตรวจหาสารเคมีในเลือด จำนวน 37,552 ราย ปรากฏว่าพบสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ ไม่ปลอดภัย 28.58 % ปี 2550 จำนวนเกษตรกรที่ทำการตรวจหาสารเคมีในเลือด จำนวน 16,420 ราย ปรากฏว่าพบสารเคมีในเลือดอยู่ในเกณฑ์ ไม่ปลอดภัย 3.34 % ลดลงเนื่องจากเกษตรกรใส่ใจในสุขภาพมาก ขึ้นและหันมาทำเกษตรอินทรีย์

เกษตรอินทรีย์ ทำอย่างไร ?