การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ม.24 ใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ม.67 รัฐส่งเสริม การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ม.30 ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ม.69 ส่งเสริมประสานงาน การวิจัย
ภารกิจของครู........ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 การใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการเรียนรู้ 2. วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การใช้การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ ประเมินผลเพื่อปรับปรุง และนำผลไปใช้ในการพัฒนา วิเคราะห์ความต้องการการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ -แสวงหาและใช้แหล่งเรียนรู้ - การใช้วิธีการต่าง ๆ ในการเรียนรู้ - การตรวจสอบความรู้ สรุปความรู้
การใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิเคราะห์ความต้องการ/พัฒนาการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้ สรุปผลการแก้ไขปัญหา/การพัฒนาและนำไปปรับปรุงทุกขั้นตอน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ ทำรายงานผลการเรียนรู้ ไม่มีปัญหา วิเคราะห์ปัญหา/การพัฒนา วางแผนการแก้ปัญหา/การพัฒนา จัดกิจกรรมแก้ปัญหา/การพัฒนา รวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล พบปัญหา/ต้องการพัฒนาต้องทำวิจัย
ลักษณะสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน สะท้อนกลับ/วิพากษ์วิจารณ์ วงจรต่อเนื่อง ผูกติดกับการปฏิบัติงาน ผลการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของครู
ขั้นตอนการวิจัย (PAOR) PLAN - การวางแผนหลังจากที่วิเคราะห์ และกำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องแก้ไข ACT - การปฏิบัติตามแผนที่กำหนด OBSERVE – การสังเกตผลจากการปฏิบัติงาน REFLECT - การสะท้อนผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข (Kemmiss, 1988)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิจัยในชั้นเรียน วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ปัญหา/การพัฒนา ขั้นปัญหา วางแผนการแก้ปัญหา/การพัฒนา ขั้นตั้งสมมติฐาน จัดกิจกรรมแก้ปัญหา/การพัฒนา ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล รวมรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการแก้ไขปัญหา/การพัฒนา ขั้นสรุปผล
การวิเคราะห์ปัญหา/การพัฒนา กลุ่มเป้าหมายที่จะแก้ปัญหา บริบทของปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ระดับมาตรฐานที่ต้องการ ระดับสภาพที่เกิดขึ้นจริง การวิเคราะห์ปัญหา/สิ่งที่จะพัฒนา ระดับมาตรฐานที่ต้องการ (ผลที่คาดหวัง) ระดับสภาพที่เกิดขึ้นจริง (ผลที่เกิดขึ้นจริง) ช่องว่าง
ปัญหาเชิงขัดข้อง สภาพที่เกิดขึ้นจริง ระดับมาตรฐาน อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ปัญหาเชิงป้องกัน สภาพที่เกิดขึ้นจริง ระดับมาตรฐาน อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ระดับมาตรฐาน ปัญหาเชิงพัฒนา สภาพที่เกิดขึ้นจริง อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ผลกระทบ เหตุของปัญหา สภาพปัญหา กระบวนการ ผลผลิต ปัจจัย
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ปัจจัย นักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนภาษาไทย กระบวนการ ครูสอนโดยไม่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ ผลผลิต นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยต่ำ ผลกระทบ นักเรียนไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา เจตคติ ไม่ดี ขาดสื่อประกอบ กิจกรรม ไม่สนุก ขาดแบบฝึกเสริม นักเรียนไม่ สามารถแก้ โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ได้ ฯลฯ นร.ไม่ได้รับการฝึก ครูไม่ได้จบคณิตฯ ครูสอน แบบบรรยาย ครูไม่ได้ เตรียมการสอน
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ขาดประสบการณ์ ไม่มีสิ่งจูงใจ ความรู้ไม่พอ ขาดทักษะ นักเรียนไม่ชอบงานเกษตร นักเรียนขาดความพร้อม นักเรียนทำโครงงานเกษตร ไม่ประสบความสำเร็จ ขาดอุปกรณ์ เครื่องมือ ไม่มีเทคนิค การสอน ขาดปัจจัยสนับสนุน ครูขาดความพร้อม ขาดการนิเทศ ขาดเงินทุน ขาดสถานที่ ครูไม่พอ
ให้ แผนภาพแสดงเหตุของปัญหา และสภาพปัญหาในการจัดการเรียนรู้ บุคคล วิธีการ สภาพแวดล้อม ความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในสภาพที่ไม่น่าพอใจ ให้ การจัดการของครู ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน