เอกสารนำเสนองานควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
ประสานงานสาธารณสุขระดับจังหวัดสงขลา
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
สาขาโรคมะเร็ง.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารนำเสนองานควบคุมโรค

ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจังหวัดสุรินทร์ แผนภูมิการรายงานและการสอบสวนควบคุมโรคของศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อจังหวัดสุรินทร์ ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจังหวัดสุรินทร์ กองระบาดวิทยา SRRT ระดับจังหวัด รง.506 สคร.5 รายงานตามระบบ 506/507 แบบสอบสวนโรค รายงานเบื้องต้นทางโทรสาร วิทยุ โทรศัพท์ SRRT ระดับอำเภอ/รพศ/รพ.เอกชน ศูนย์เฉพาะกิจระดับอำเภอ wrds2012@hotmail.co.th รายงานตามระบบ 506/507 แบบสอบสวนโรค รายงานเบื้องต้นทางโทรสาร วิทยุ โทรศัพท์ ทีมงานระดับอำเภอ (อบต. วัด บ้าน โรงเรียน) หน่วยบริการสุขภาพหลัก/เทศบาล/โรงพยาบาลชุมชน การสอบสวนและควบคุมโรค การรายงานโรค Password :

ระบบรายงาน E1 โรคไข้เลือดออก เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ปี ๒๕๕๖

วัตถุประสงค์การรายงาน E1 โรคไข้เลือดออก ๑. เพื่อแจ้งผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ทั้งกรณีสงสัยโรคไข้เลือดออก/ไข้เลือดออก (DF, DHF และ DSS) ให้ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องติดตามควบคุมกำกับการป้องกันควบคุมโรคของพื้นที่ ๒. เพื่อสรุปสถานการณ์โรค ระบุแหล่งเสี่ยงสำคัญ ได้แก่ สถานที่ที่มีผู้คนร่วมกิจกรรมหมู่มาก, หมู่บ้านป่วยซ้ำซาก เป็นต้น และนำเสนอข้อเสนอแนะเตือนภัยแก่ประชาชน และแนวทางการดำเนินงานตามสถานการณ์โรค ๓. เพื่อให้การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ กรมควบคุมโรคกำหนด

การรายงาน E1 โรคไข้เลือดออก ข้อตกลงเบื้องต้น เมื่อทราบว่ามีการวินิจฉัยสงสัยโรคไข้เลือดออก/ไข้เลือดออก (DF, DHF และ DSS) ในสถานพยาบาล ให้แจ้งพื้นที่ดำเนินการควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง และรายงาน E1 ให้ สสจ. ภายในวันถัดไป (ก่อนเวลา ๑๕.๐๐ น.) ไม่เว้นวันหยุดราชการ ๒. ส่งรายงาน E1 มาที่ อีเมลล์ :

แจ้งผู้ป่วยไข้เลือดออก DHF ด.ช.ณัฐดนัย สีมายา HN 1093260 อายุ 14 ปี บิดา นายคำแพง-นางถาวร ที่อยู่ 8 ม. 3 ต.เมืองบัว อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ โรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร จ.มหาสารคาม ชั้น ม.2/6 เริ่มป่วย 26 ม.ค. 56 พบ 31 ม.ค. 56 Admit. รพ.บุรีรัมย์ Refer รพ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม รับแจ้งจาก สสจ.บุรีรัมย์ เมื่อ ๑ ก.พ. ๕๖ ทางอีเมลล์

โครงการป้องกันควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับ ระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖

สู่ระยะที่ ๒ งบครม.สัญจร นโยบายรมช. และสภาพปัญหาของภาคอีสาน งบประมาณ สปสช. ๑ ล้านบาท สำรวจกล้องจุลทรรศน์ในพื้นที่ ๑๗ – ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕ อบรมจุลทัศนากร ๑๓๕ คน รพ.สต. ๑๑๒ แห่ง (รพ.สต. ๓ อำเภอเป้าหมาย ครบทุกแห่ง นอกเป้าฯ ๖๗ แห่ง) อำเภอเป้าหมาย ๓ อำเภอ ได้แก่ อำเภอชุมพลบุรี อำเภอท่าตูม และอำเภอรัตนบุรี สรุปผลการดำเนินงาน ณ ๓๑ มกราคม ๕๖ กลุ่มเป้าหมาย ๓๐ ปีขึ้นไป ๕๖,๐๓๖ คน ประชาชนตรวจ ๗,๐๕๗ คน ร้อยละ ๑๒.๕๙ พบพยาธิใบไม้ตับและรักษา ๙๕๗ คน ร้อยละ ๑๐.๕๖ พบพยาธิอื่นๆและรักษา ๔๘๗ คน ร้อยละ ๕.๓๗ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๑,๔๔๔ คน ร้อยละ ๑๐๐ เป้าหมายคัดกรอง ทั้ง จว. ๔๑๔,๕๐๐ คน นอกเป้าหมาย ๓๕๘,๔๐๐คน งบ สปสช. ใช้ไป ๗๐,๖๐๐ บาท คงเหลือ ๙๒๙,๔๐๐ บาท ร้อยละ ๗.๐๖ เตรียมข้อมูลขยายพื้นที่เป้าหมาย อีก ๒ อำเภอ รวมเป็น ๕ อำเภอ อำเภอเพิ่มเติม ได้แก่ อำเภอศีขรภูมิ และอำเภอจอมพระ สู่ระยะที่ ๒ งบครม.สัญจร

ก้าวต่อไป โครงการป้องกันควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับ ระยะที่ ๒ ปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๖

อบรมแพทย์มะเร็งท่อน้ำดี ๑๘ – ๑๙ ก.พ. ๕๖ หรือ ๒๕ – ๒๖ ก.พ. ๕๖ KPI : อัตราตายมะเร็งตับไม่เกิน ๒๔ /แสนปชก. งบ ครม. สัญจร ๑.๕ ล้านบาท งบ PP. ๑.๗๙๒ ล้านบาท ๑๓ – ๑๔ พ.ย. ๕๕ อบรมครู ก ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ทั้ง ๕อำเภอเป้าหมาย ๑๒ คน) อำเภอเป้าหมาย ๕ อำเภอ ได้แก่ อำเภอชุมพลบุรี อำเภอท่าตูม อำเภอรัตนบุรี อำเภอศีขรภูมิ และอำเภอจอมพระ อบรมแพทย์มะเร็งท่อน้ำดี ๑๘ – ๑๙ ก.พ. ๕๖ หรือ ๒๕ – ๒๖ ก.พ. ๕๖ อบรม อสม. ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคพยาธิใบไม้ตับ ๑๘ – ๒๒ ก.พ. ๕๖* อบรมพนักงานจุลทัศนกร (เพิ่มเติม) ๑๘ – ๒๒ ก.พ. ๕๖ คัดกรองอุจจาระในชุมชน ๑๑ ก.พ. – ๑๕ มี.ค. ๕๖* ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับ ๔ – ๑๕ มี.ค. ๕๖* ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งท่อน้ำดีในกลุ่มเสี่ยงด้วยเครื่อง Digital Ultrasound ๔ – ๑๕ มี.ค. ๕๖ ๕ อำเภอเป้าหมาย ต้องทำต่อ นอกอำเภอเป้าหมาย ทำอย่างไร *

โครงการป้องกันควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับ (กองทุนสุขภาพตำบล) ๑. นอกพื้นที่เสี่ยง ๕ อำเภอ ให้ดำเนินการโดยใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล ๒. รายละเอียดโครงการ ดังตัวอย่างโครงการกองทุนสุขภาพตำบลหนองเรือ อำเภอชุมพลบุรี (ปรับปรุง) ๓. วัสดุอุปกรณ์ ขอรับสนับสนุนจาก CUP หลังจากที่สรุปผลการตรวจอุจจาระ โดยแบ่งเป็น ๒ งวด (งวดที่ ๑ เดือนมีนาคม ๕๖ และงวดที่ ๒ เดือนกรฎาคม ๕๖) *สสจ. โอนเงินตามผลงานรายละ ๕ บาทให้ CUP