การพัฒนาระบบ Union Catalog บนเครือข่าย ThaiLIS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชา "เสริมทักษะทางคอมพิวเตอร์" เอกพจน์ เศวตรัตนเสถียร
Advertisements

NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
รุ่งเรือง สิทธิจันทร์ ประธานคณะทำงานฯ
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
Education Research Complete
การใช้งานฐานข้อมูล Journal of Cosmetic Dermatology
5 มิถุนายน 2555 แผนกพัฒนาสารนิเทศ อิเล็กทรอนิกส์.
รายงานโครงการหมายเลข COE
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
Online Public Access Catalog
วิจัยสถาบัน...เรื่องไม่ง่ายแต่ทายท้า
Work From Anywhere To University
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
S T A N G M O N G K O L S U K L I B R A R Y งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลทางวิชาการ.
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดใน
NU. Library Online Purchasing System
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล Project Euclid Project Euclid สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางภาครัฐ
องค์ประกอบของระบบ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
วิชาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
Thai IUG Working Group Report.
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด : ความเป็นไปได้ในการจัดการ สารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
การจัดทำ VPN เพื่อการใช้งาน ThaiLIS กรณีศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา
RSS กับเครือข่ายห้องสมุด Digital
ThaiLIS Meeting การตอบปัญหาการใช้งานและการเข้าร่วม เครือข่าย ThaiLIS
สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงาน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
สรุปผลงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
บริการห้องสมุดสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ภาระกิจด้านสารสนเทศ สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
ชื่อโครงการ พัฒนาข้อปฏิบัติและการจัดการระบบ KU-Channel ผู้นำเสนอ : นายฉัตรชัย พ่วงพลับ ฝ่าย : เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต วันที่ : วันพุธ ที่ 30.
ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนองาน
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์และ การใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
Set Proxy 1. เพื่อให้สามารถเข้าใช้สืบค้นข้อมูลทรัพยากรสนเทศ หรือสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆที่ห้องสมุดบอกรับ 2. รวมทั้งการดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็ม ผ่านหน้าเว็บห้องสมุดจากภายนอกเครือข่ายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบ Union Catalog บนเครือข่าย ThaiLIS นายจีระพล คุ่มเคี่ยม สำนักหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุม WUNCA ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

หัวข้อบรรยาย สถานะปัจจุบัน การให้บริการกับสมาชิก การเข้าใช้ประโยชน์ ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ปัญหา แนวทางในอนาคต

สถานะปัจจุบัน ชนิดของ Union Catalog ที่เลือกใช้งาน Software สำหรับ Central Site จำนวนระเบียนที่มี สมาชิกที่นำข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้ว Software ที่รองรับการใช้งาน Z39.50 Union Catalog ของ แต่ละกลุ่มระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สถานะระบบล่าสุด

Software ที่รองรับการใช้งาน Z39.50 Horizon มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพวิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ ELIB มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพวิทยาเขตพระนครใต้ Horizon มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาวิทยาเขตตา Horizon มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี Horizon มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต VTLSVirtua มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี

คุณลักษณะของระบบ Physical Union Catalog มี Server กลางเก็บข้อมูลของสมาชิกที่ ศูนย์กลาง (สกอ.) Central Site http://uc.thailis.or.th UNICODE Z39.50,HTTP ISO ILL E-MAIL สมาชิกมีระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเอง (Local Site) ส่งข้อมูลตามมาตรฐาน MARC21 ในรูปแบบของ ISO2709 ผ่าน HTTP,Z39.50 Protocol สมาชิกใช้ประโยชน์ ผ่าน HTTP,Z39.50 Protocol

การเข้าใช้ประโยชน์ กลุ่มผู้ใช้ทั่วไป Online Public Access Catalog กลุ่มสมาชิกของห้องสมุดในโครงการความร่วมมือ OPAC Inter Library Loan กลุ่มห้องสมุดในโครงการความร่วมมือ Share Catalog

การเข้าใช้ฐานข้อมูล กลุ่มผู้ใช้ทั่วไป Mobile url wap.thailis.or.th สืบค้นโดยใช้ HTTP Protocol ที่ url http://www.thailis.or.th Z39.50 Client เช่น Endnote,Bookwhere,virtual client ที่ Server :202.28.18.229 Port :1111 Database name :DEFAULT

การเข้าใช้ฐานข้อมูล กลุ่มนักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ ห้องสมุดสมาชิก Mobile url wap.thailis.or.th สืบค้นโดยใช้ HTTP Protocol ที่ url http://uc.thailis.or.th Inter Library Loan Z39.50 Client เช่น Endnote,Bookwhere,virtual client ที่ Server :202.28.18.229 Port :1111 Database name :DEFAULT

การเข้าใช้ฐานข้อมูล กลุ่มบุคคลกรที่ทำงานในห้องสมุด Mobile url http://wap.thailis.or.th สืบค้นโดยใช้ HTTP Protocol ที่ url http://www.thailis.or.th Inter Library Loan Library Automation Software Support Z39.50,ISO2709,MARC21 Z39.50 Client เช่น Endnote,Bookwhere,virtual client ที่ Server :202.28.18.229 Port :1111 Database name :DEFAULT

Software ที่รองรับ Z39.50 VTLS VIRTUA HORIZON INNOPAC MAGIC LIBRARY

ผลการสำรวจระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่มี Alice for Windows 25 CDS/ISIS 3 CRU 1 ELIB 1 Horizon 4 LAB 1

ผลการสำรวจระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่มี (ต่อ) library 2001 2 Magic Library 8 ME Lib 2 self 3 SMS 1 VirtuaVTLS 9 classicVTLS 11

ผลการสำรวจระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่มี (ต่อ) ทรงไทย 1 นวสาร 4 พัฒนา เอง 2 ยังไม่มี 1 

การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร จัดตั้งคณะทำงานด้านต่างๆ รวมกลุ่มห้องสมุดที่ใช้ software เดียวกัน ประชุมเพื่อกำหนดข้อตกลงในการลงรายการข้อมูล อบรม MARC21

Hardware, OS, Network Storage Central Site Server สำหรับ เก็บข้อมูลของทุกมหาวิทยาลัย Sun fire V880 OS Solaris Network Gigabit Storage SAN and RAID SCSI

ปัญหาและอุปสรรค การปิด port สำหรับการใช้งาน Z39.50 การลงรายการที่แตกต่างกัน การใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่แตกต่างกัน รหัสภาษาไทยที่แตกต่างกัน ระบบไม่รองรับการใช้งาน Z39.50 จำนวนข้อมูลที่มาก ทำให้การตรวจสอบแก้ไขล่าช้า ความสามารถในการตรวจสอบข้อมูลซ้ำซ้อนของ software

แนวทางการแก้ไขปัญหา แจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบถึงตวามจำเป็นในการเปิด port ประชุมกำหนดข้อตกลง แก้ไขข้อมูลตนเอง

เงื่อนไขการเตรียมข้อมูลเพื่อเข้าร่วมโครงการ ข้อมูลอยู่ในรูปแบบ ISO-2709 นำเสนอข้อมูลตามมาตรฐาน MARC21 จะต้องตรวจสอบ Leader ตำแหน่งที่ 6 และ 7 ให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของแต่ละชนิดของข้อมูล ข้อมูลไม่มีการซ้ำภายในตัวเอง ต้องมีข้อมูล ชื่อเรื่อง (245)

ขั้นตอนการดำเนินการ ตรวจสอบข้อมูลของมหาวิทยาลัย/สถาบัน ว่าระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ใช้งานสามารถนำข้อมูลออกจากระบบในรูปแบบ ISO-2790 ได้หรือไม่ หากไม่ได้ให้ติดต่อ คณะทำงานเพื่อหาแนวทางในการนำข้อมูลออกต่อไป ตรวจสอบข้อมูลของมหาวิทยาลัย/สถาบัน ว่ามีการลงรายการตามมาตรฐาน MARC21 หรือไม่ หากไม่ไช่ให้ติดต่อ คณะทำงานเพื่อหาแนวทางในการดำเนินแปลงข้อมูลต่อไป

ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ขั้นตอนการดำเนินการ (ต่อ) ใช้เครื่องมือสำหรับตรวจสอบการซ้ำของข้อมูลภายในตัวเองและความสมบูรณ์ของข้อมูลที่ผ่านเงื่อนไขข้างต้น แก้ไขข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบการซ้ำของข้อมูลภายในตัวเองและความสมบูรณ์ แล้วนำเข้าสู่กระบวนการตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง หลังจากข้อมูลมีความถูกต้องสมบูรณ์แล้ว จะเข้าสู่กระบวนการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบต่อไป

ระบบเครือข่าย ความเร็ว และ กฎเกณฑ์ ห้องสมุดเชื่อมต่อกับเครือข่าย UNINET โดยตรง ห้องสมุดเชื่อมต่อกับเครือข่าย UNINET ผ่านสำนักคอมพิวเตอร์ ห้องสมุดเชื่อมต่อกับ ISP อื่น นอกเหนือจาก UNINET มีการ Block Port ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ ??? ความเร็วในการเชื่อมต่อและการโอนข้อมูล Ftp, http จำกัดหรือไม่อย่างไร

ถามตอบปัญหา