โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การบริหารกลุ่มและทีม
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
การวางแผนกลยุทธ์.
การจัดองค์การ.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
Organization Management
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
The General Systems Theory
องค์การ Organization.
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
( Organization Behaviors )
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 4 Organization กำหนดโครงสร้างที่เหมาะสม Org.Chart
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
(Organizational Behaviors)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
บทที่ 3 Planning.
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
(Strategy Implementation)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
โครงสร้างขององค์การ.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
การปฏิบัติการและการประเมินผลการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture) บทที่ 11 โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)

สิ่งที่เรียนรู้ในวันนี้  ประเภทของโครงสร้างองค์การ  โครงสร้างองค์การและการปรับใช้ในการดำเนินงานจริง  รูปแบบของโครงสร้างองค์การสมัยใหม่  วิธีการจัดแผนกงาน  ความหมาย องค์ประกอบและประเภทของวัฒนธรรมองค์การ

โครงสร้างองค์การ Organization Structure เป็นระบบที่เป็นทางการขององค์การ ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกฎระเบียบ งาน และอำนาจ เพื่อที่จะควบคุมให้บุคลากรในองค์การทำงานร่วมกัน และมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้บรรลุวัตถุประสงค์

แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้าง  มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม = สมาชิกจำนวนมากมาทำงาน จึงจำเป็นต้องมีรูปแบบ กฎเกณฑ์และแนวทางให้สมาชิกปฏิบัติ เพื่อลดปัญหาความขัดแย้งและความซับซ้อนในการทำงาน  กำหนดกิจกรรม = เป็นรูปแบบของกฎระเบียบและข้อกำหนดว่า กิจกรรมใดควรทำและกิจกรรมใดไม่ควรทำ  มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่มีเป้าหมายขององค์การ = การกำหนดขั้นตอนอย่างชัดเจน จะทำให้บุคลากรทุกคนทราบถึงบทบาท หน้าที่ สถานภาพและความรับผิดชอบของตน

โครงสร้างองค์การมีอิทธิพลต่อการดำเนินงานขององค์การ ดังนี้  กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ  แสดงการติดต่อสื่อสารและการประสานงานภายใน  กำหนดขอบเขตของการตัดสินใจให้แก่ฝ่ายบริหาร  กำหนดความสมดุล ความสอดคล้อง และจัดลำดับ ความสำคัญของกิจกรรมต่าง ๆ

ประเภทโครงสร้างขององค์การ  โครงสร้างแบบประเพณีนิยม = มีกฎ ข้อบังคับ ได้แก่  โครงสร้างองค์การแบบราชการ  โครงสร้างองค์การแบบสายงานหลัก และ สายงานที่บริการ

 โครงสร้างองค์การแบบราชการ

 โครงสร้างองค์การแบบสายงานหลัก และสายงานที่บริการ ผู้จัดการ ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายงานบัญชี ฝ่ายการตลาด ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ฝ่ายงาน HR พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน หมายเหตุ __________ คือสายงานหลัก (Line) --------------- คือสายงานที่ปรึกษา (Staff)

ประเภทโครงสร้างขององค์การ (ต่อ)  โครงสร้างแบบไม่เป็นประเพณีนิยม = ไม่มีกฎข้อบังคับ และระเบียบการทำงานที่แน่นอนตายตัว ได้แก่  โครงสร้างองค์การแบบทีมงาน  โครงสร้างองค์การแบบโครงการเฉพาะกิจ  โครงสร้างองค์การแบบแมทริกซ์  โครงสร้างองค์การตามสถานการณ์

 โครงสร้างแบบทีมงาน ผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการ ฝ่ายจัดซื้อ ผู้จัดการ ฝ่ายผลิต ผู้จัดการ ฝ่ายการเงิน ผู้จัดการ ฝ่ายการตลาด ทีมงาน 1 ทีมงาน 2 ทีมงาน 3 ** เหมาะกับงานที่ต้องการความยืดหยุ่น ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี นวัตกรรม **

 โครงสร้างแบบโครงการเฉพาะกิจ เป็นโครงสร้างองค์การแบบไม่เป็นทางการที่อยู่ภายในองค์การขนาดใหญ่ โดยมีการจัดกลุ่มทำงานเฉพาะอย่างขึ้นเป็นการชั่วคราว โดยสมาชิกของกลุ่มงานจะทำงานประจำอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ กัน และมารวมตัวกันเพื่อทำงานโครงกรร เมื่องานนั้นเสร็จ สมาชิกก็จะแยกย้ายกันไปทำงานตามฝ่ายของตน โครงการแบบนี้จะถูกตั้งขั้นเมื่อมีปัญหาหรืองานเร่งด่วน

 โครงสร้างแบบแมทริกซ์ (Matrix Structure) กรรมการผู้จัดการ ฝ่าย ก่อสร้าง ฝ่าย การตลาด ฝ่าย การเงิน ฝ่ายตรวจสอบ คุณภาพ โครงการ ก โครงการ ข โครงการ ค

 โครงสร้างองค์การตามสถานการณ์ ไม่มีโครงสร้างรูปแบบหรือกฎเกณฑ์ใด ๆ ที่จะใช้ได้เหมาะสมกับทุก ๆ สถานการณ์ เพราะว่าสภาพแวดล้อมจะแปรเปลี่ยน อย่างต่อเนื่อง ทำให้องค์การต้องปรับตัวไปตามปัจจัยต่าง ๆ ที่ มีผลกระทบต่อองค์การ ผู้ออกแบบองค์การจะต้องศึกษา และ พยายามเข้าใจถึงความสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างองค์ประกอบและปัจจัยต่าง ๆ ขององค์การ ซึ่งจะช่วยในการกำหนดโครงสร้างองค์การให้เหมาะสมที่สุด

โครงสร้างองค์การสมัยใหม่  องค์การแนวราบ  ระบบองค์การแบบมีพลวัต  องค์การเสมือน

ความพึงพอใจของลูกค้า  องค์การแนวราบ คณะผู้บริหาร ทีมงานเน้นกระบวนการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ทีมงานเน้นกระบวนการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ทีมงานเน้นกระบวนการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ความต้องการของลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้า

 องค์การแบบมีพลวัต ภายในองค์การ Subcontractor Subcontractor ฝ่ายการตลาด ฝ่ายบริหาร บริษัท 2 ฝ่ายบุคคล ภายในองค์การ Subcontractor ฝ่ายการผลิต ฝ่ายวิจัย และพัฒนา Subcontractor ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย บริษัท 1 ฝ่ายจัดซื้อ

 องค์การเสมือน เป็นระบบความสัมพันธ์ของผู้ขายวัตถุดิบ ลูกค้า และแม้แต่คู่แข่งที่ต่างก็เป็นอิสระแก่กัน มารวมตัวกันด้วยผลประโยชน์ทางเทคโนโลยี โดยใช้สารสนเทศเชื่อมส่วนประกอบของระบบเข้าด้วยกัน เพื่อดำเนินตามโครงการเฉพาะกิจ หรือธุรกิจบางอย่างที่ใช้เวลาไม่นานนัก และจะยุบเลิกไปเมื่อภารกิจจบสิ้นลง มีลักษณะสำคัญ 5 ประการคือ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมความยอดเยี่ยมของหุ้นส่วนแต่ละหน่วยองค์การ เป็นการสร้างโอกาส ความเชื่อถือ และไร้ขอบเขต

การจัดแผนกงาน  การจัดแผนกงานตามหน้าที่  การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์  การจัดแผนกงานตามพื้นที่  การจัดแผนกงานตามลูกค้า

 การจัดแผนกงานตามหน้าที่ (Functional Departmentation) กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่าย การเงิน ฝ่าย การตลาด ฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์

 การจัดแผนกงานตามผลิตภัณฑ์ (Product Departmentation) กรรมการผู้จัดการ กลุ่มสินค้า อาหาร กลุ่มสินค้า เฟอร์นิเจอร์ กลุ่มสินค้า เครื่องแต่งกาย

 การจัดแผนกงานตามพื้นที่ (Geographic Departmentation) กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการ ผู้จัดการภาคเหนือ รองกรรมการ ผู้จัดการภาคกลาง รองกรรมการ ผู้จัดการภาคตะวันออก รองกรรมการ ผู้จัดการภาคใต้

 การจัดแผนกงานตามลูกค้า (Customer Departmentation) กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการแผนกขาย ส่วนราชการ ผู้จัดการแผนกขาย ลูกค้าอุตสาหกรรม ผู้จัดการแผนกขาย ลูกค้ารายย่อย

วัฒนธรรมองค์การ ระบบของค่านิยม ความเชื่อ ความเข้าใจ และบรรทัดฐานร่วมกัน ที่ผูกพันสมาชิกขององค์การให้สามารถเข้าใจได้ตรงกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประพฤติและเป็นวิธีปฏิบัติ

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ เครือข่ายทางวัฒนธรรม ค่านิยม องค์ประกอบ วัฒนธรรม องค์การ งานพิธี หรือ ธรรมเนียมปฏิบัติ สัญญลักษณ์ วีรบุรุษ เรื่องราว คำขวัญ

ประเภทของวัฒนธรรมองค์การ วัฒนธรรมแบบเครือญาติ ความยืดหยุ่น วัฒนธรรมแบบเครือญาติ วัฒนธรรมแบบปรับตัว การมี เสถียรภาพ วัฒนธรรมแบบ มุ่งผลสำเร็จ วัฒนธรรมแบบราชการ

สรุป โครงสร้างองค์การ เป็นระบบที่เป็นทางการขององค์การ ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกฎ ระเบียบ งาน อำนาจ เพื่อที่จะควบคุมให้บุคลากรในองค์การทำงานร่วมกันและมีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้บรรลุวัตถุประสงค์ สามารถพิจารณาโครงสร้างองค์การเป็น 2 ประเภทคือ 1. โครงสร้างองค์การแบบประเพณีนิยม ประกอบด้วย โครงสร้างองค์การแบบราชการ แบบสายงานหลักและสายงานที่บริการ และ 2. โครงสร้างองค์การที่ไม่เป็นแบบประเพณีนิยม ประกอบด้วย โครงสร้างแบบทีมงาน แบบโครงการเฉพาะกิจและแบบแมทริกซ์

สรุป (ต่อ) วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง ระบบของค่านิยม ความเชื่อ ความเข้าใจและบรรทัดฐานร่วมกัน ที่ผูกพันสมาชิกขององค์การให้สามารถเข้าใจได้ตรงกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประพฤติและวิธีปฏิบัติ วัฒนธรรมองค์การเป็นอีกปัจจัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากจะเป็นตัวแทนของค่านิยมและความเข้าใจร่วมกันของพนักงานทุกคน องค์ประกอบที่สำคัญของวัฒนธรรมองค์การมี 8 ประการ คือ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ค่านิยม สัญลักษณ์ เรื่องราว วีรบุรุษ คำขวัญ งานพิธีหรือธรรมเนียมปฏิบัติและเครือข่ายทางวัฒนธรรม