แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
แนวคิด ในการดำเนินงาน
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
การบริหารจัดการท้องถิ่น
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องที่
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
รูปแบบแผนชุมชน.
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
“ ตำรวจภูธรจังหวัดสระแก้ว เป็นตำรวจมืออาชีพ เพื่อ ความผาสุกของประชาชน ”
แนวทางการปฏิบัติราชการ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
การดำเนินการ ของ กระทรวงกลาโ หม การดำเนินการ ของ กระทรวงกลาโ หม.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สาระสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การบริหารราชการแผ่นดิน
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ฝ่ายปกครองกับการปกป้อง
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
โครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทและโครงการพระราชดำริ (หลักสูตรกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) การมอบนโยบายกรมการปกครอง โดย นายกฤษฎา บุญราช อธิบดีกรมการปกครอง วันจันทร์ที่
ความเป็นมาของความยุติธรรม
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา นายกฤษฎา บุญราช ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา

ความมุ่งมั่นในการทำงานของผู้ว่าฯ ยะลา นายกฤษฎา บุญราช ความมุ่งมั่นในการทำงานของผู้ว่าฯ ยะลา นายกฤษฎา บุญราช แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง แผนงานการสร้างความยุติธรรม แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต แผนงานพัฒนาเศรษฐกิจ การดำเนินงานตามโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ การพัฒนาการเกษตร ๓ ด้าน ยางพารา ผลไม้ ปศุสัตว์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแหล่งน้ำ และ ถนน การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเชื่อมโยงยะลา-เบตงสู่สากล การช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจ ขนาดย่อมและขนาดกลาง การดำเนินงานหมู่บ้านยะลาเข้มแข็ง การจัดตั้งศูนย์ยะลาสันติสุข การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์ความรุนแรง การแก้ไขปัญหายาเสพติด การอบรมเพื่อทำความเข้าใจ และลดความหวาดระแวง - การเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ การดูแลผู้ด้อยโอกาส การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งในและนอกระบบ กิจกรรมเกี่ยวกับศาสนา เพื่อความเข้าใจที่ดีต่อกัน การปรับปรุงงานสวัสดิการสังคมทั่วไป การปรับปรุงงานบริการ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ

โครงการตามนโยบายสำคัญของรัฐบาลและส่วนราชการต่างๆ โครงการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่พิเศษ ๕ จชต. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนระดับหมู่บ้าน (พนม.) โครงการพัฒนาหมู่บ้านเสริมสร้างสันติสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พนพ.) โครงการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ โครงการประกันรายได้เกษตรกร โครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง โครงการชุมชนพอเพียง นอกจากนี้ยังมีแผนงาน / โครงการตามภารกิจและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการในจังหวัดยะลา

การผนึกกำลังประชาชนในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในหมู่บ้าน เอกสาร 1 การผนึกกำลังประชาชนในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในหมู่บ้าน เสริมความเข้มแข็ง หมู่บ้านยะลาเข้มแข็ง เข้มแข็ง ปฏิบัติการด้านยุทธการคู่ขนานการใช้กำลัง ประชาชน ลดการปฏิบัติ ทางด้านยุทธการลง คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) หรือสภาสันติสุข ผู้นำ 4 เสาหลัก - ผู้นำท้องที่ (กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน) - ผู้นำท้องถิ่น (อบต.) - ผู้นำศาสนา (อิหม่าม) - ผู้นำตามธรรมชาติ และคณะกรรมการหมู่บ้านอื่นๆ ทำประชาคม/ข้อตกลงร่วม เพื่อยุติความขัดแย้งและรุนแรง 1.กฎกติกาหมู่บ้าน (ฮูกมปาก๊ะ) เช่น ด้านการปฏิบัติศาสนกิจ : ผู้ไม่ปฏิบัติศาสนกิจ วันศุกร์ติดต่อ 3 ครั้ง ต้องทำความสะอาดมัสยิด,การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด : ผู้ใดเกี่ยวข้องกับยาเสพติดจะต้องถูกดำเนินคดีตามกฎหมายและจะไม่ไปร่วมกิจกรรมทางสังคมด้วย, การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,การรักษาความปลอดภัยและความสันติสุขภายในหมู่บ้าน 2. การร่วมงานกับภาครัฐตามโครงการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจพื้นที่พิเศษ 5 จชต. 3. การพัฒนาหมู่บ้าน หรือการปฏิบัติภารกิจตามนโยบายหรือ ข้อสั่งการของหน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น โครงการ พนม. และหรือโครงการ พนบ. เป็นต้น ฯลฯ โครงสร้างกำลังประชาชน -กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน -ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ฝ่ายปกครอง 2 คน -ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ 5 คน -สมาชิก อส. หมู่บ้าน 6 นาย -ชรบ/อรบ 20-40 คน -อื่นๆ แบ่งมอบภารกิจ ภารกิจหลัก 1.การแบ่งกำลังดูแลครัวเรือนในทุกด้าน 2.การ รปภ.หมู่บ้าน/ชุมชน/ลว.เส้นทาง 3.การจัดเวรยาม 4.การ รปภ.ครู/โรงเรียน 5.การข่าว ภารกิจรอง 1.การ ปจว./ปชส. 2.การรวมพลัง 3.การสนับสนุน/ร่วมกิจกรรมส่วนราชการ หมายเหตุ : หมู่บ้าน/ชุมชนใดมีความเข้มแข็งแล้ว จะส่งมอบภารกิจในการรักษาความปลอดภัยและการเสริมสร้างสันติสุข ให้กับผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชนนั้นๆ ต่อไป