งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน

2 2.1 ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
ความเป็นมา  ปี 2540 เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยการส่งเสริมกระบวนการ ประชาคมในหมู่บ้าน ปี รัฐบาลกำหนดนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนเป็นวาระแห่งชาติ  ปี 2546 เลือกใช้แผนชุมชนเป็นเครื่องมือเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน / แก้ไขปัญหาความยากจน  ปี 2551 มีการกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแผนชุมชน คือ แผนชุมชนมีคุณภาพและมีการบูรณาการกับแผนอำเภอ / จังหวัด  ปี 2552 นำระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนและกระบวนการบูรณาการ แผนชุมชนระดับอำเภอ มาใช้พัฒนาแผนชุมชน

3 แนวคิด  แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหมู่บ้าน/ชุมชน ใช้ในการ พัฒนาตนเอง  แผนชุมชนเป็นเครื่องมือสำหรับหน่วยงาน ใช้ในการส่งเสริม การพัฒนาที่มีหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลาง  เครื่องมือที่ได้มาตรฐานจะได้รับการยอมรับและนำไปใช้ ประโยชน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บูรณาการแผนชุมชนให้ใช้ได้ ในทุกระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ

4 ความหมาย กิจกรรมหรือกระบวนการ เพื่อตรวจสอบและ รับรองมาตรฐานแผนชุมชน โดยการประเมิน ตามมาตรฐานแผนชุมชนที่กำหนดขึ้นโดยใช้ ระบบมาตรฐานของประเทศไทยเป็นกรอบ ความคิดในการออกแบบและโดยการมีส่วนร่วม ของภาคราชการ ภาคเอกชนและภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการออกแบบ

5 มาตรฐานแผนชุมชน ตัวชี้วัด คะแนน กิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
20 6 กิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม 3 กิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ 25 2 กิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 5. รูปเล่มของแผนชุมชน (โครงการสร้างแผนชุมชน) 10 5 กิจกรรมย่อย

6 หน่วยรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
ประกอบด้วย  คณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด ประกอบด้วยผู้แทน ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ภาคประชาชน / ภาคเอกชน อปท. และ สถาบันการศึกษา 11 – 15 คน โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย เป็นประธาน  คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด ประกอบด้วยผู้แทน ส่วนราชการ สถาบันการศึกษา อปท. สภาองค์กรชุมชนหรือองค์กร เอกชนหรือ ศอช.ต. ผู้แทนแผนชุมชน สถาบันการเงินและ พช. 9-15 คน โดยมีหัวหน้าส่วนราชการที่ได้รับมอบหมายเป็นหัวหน้า คณะทำงาน

7 การตรวจสอบและรับรอง (วิธีการ / ขั้นตอน)
ประชุมคณะทำงานประเมินจังหวัด ปรับปรุง ทบทวนแบบประเมิน ประชุมคณะกรรมการ รับรอง/คณะทำงาน ประเมินฯ ทบทวน วิธีการการประเมิน หมู่บ้านเสนอแผนชุมชน เข้าสู่กระบวนการรับรอง ประชาสัมพันธ์ให้หมู่บ้าน เสนอแผนชุมชนเข้าสู่ กระบวนการรับรอง แผนชุมชน ทีมปฏิบัติการระดับตำบล/ ชุมชน ประเมินเบื้องต้น 12 ตัวชี้วัด คณะทำงานประเมินฯ อำเภอ ประเมิน 5 ตัวชี้วัด แผนชุมชนผ่าน การประเมิน แผนชุมชนไม่ผ่าน ปรับปรุง/พัฒนา คุณภาพแผนชุมชน คณะทำงานประเมินจังหวัด ตรวจสอบเอกสาร และประเมินมาตรฐาน งบยุทธศาสตร์กรมฯ ประกาศรับรอง มาตรฐานแผนชุมชน ระดับจังหวัด

8 กิจกรรมตามโครงการส่งเสริมและ รับรองมาตรฐานแผนชุมชน 7 กิจกรรม
ประชุมคณะทำงานประเมินฯ ทบทวน ปรับปรุง แบบประเมิน อำเภอเตรียมความพร้อมให้หมู่บ้าน/ชุมชน และประชาสัมพันธ์ระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชนให้แกนนำหมู่บ้าน/ชุมชน ประชุมคณะกรรมการรับรอง/คณะทำงานประเมินฯ เพื่อทบทวนกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการดำเนินงาน และมอบหมายการประเมินให้คณะทำงานประเมินฯ คณะทำงานประเมินฯ ติดตามประเมินผล ประชุมคณะทำงานประเมินสรุปผลการติดตามประเมินผล ประชุมคณะกรรมการรับรอง/คณะทำงานประเมิน เสนอผลการประเมิน/รับรองผลการประเมิน จัดทำประกาศให้หมู่บ้านที่ผ่านการประเมิน

9 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด/ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (6 ตัวชี้วัดย่อย) 20 1.1 การพึ่งตนเองมีกิจกรรมที่แสดงถึงการพึ่งตนเอง (4) 1 2 3 4 ในแผนชุมชน มีกิจกรรมพึ่งตนเอง 1) 30 % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 2) % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 3) % ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด 4) 41 % ขึ้นไป ของกิจกรรมในแผนชุมชนทั้งหมด คำนิยาม กิจกรรมพึ่งตนเองหมายถึงกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน ดำเนินการเองทั้งหมด

10 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.2 มีกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชนและช่วยเหลือชุมชนอื่น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของคนในชุมชน และช่วยเหลือชุมชนอื่น 1) จำนวน กิจกรรม 2) จำนวน กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 5 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการเอื้ออารีต่อกัน เช่น กิจกรรมเกี่ยวกับสวัสดิการ/การดูแลช่วยเหลือคนจน คนด้อยโอกาส คนพิการ คนชรา หรือคนที่ประสบปัญหา กิจกรรมที่แสดงถึงความรัก ความสามัคคี สมานฉันท์ของคนในชุมชน หรือกิจกรรมที่ช่วยเหลือกันในลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยน้อง เป็นต้น

11 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.3 มีกิจกรรมในแผนชุมชนที่ส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเก็บออม (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเก็บออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการประหยัด การออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ในหมู่บ้าน/ชุมชน

12 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.4 มีภูมิคุ้มกันชุมชน มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ เพื่อให้คนในหมู่บ้านรู้และเข้าใจสถานการณ์ / ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน และมีกิจกรรมเพื่อป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชน มีกิจกรรมที่สร้างการเรียนรู้ เพื่อให้คนในหมู่บ้านรู้และเข้าใจสถานการณ์ / ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน และมีกิจกรรมเพื่อป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น 1) จำนวน กิจกรรม 2) จำนวน กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 6 กิจกรรม คำนิยาม กิจกรรมที่แสดงถึงการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมการสืบทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านศก.พอเพียงในชุมชน ด้านศก. ด้านการป้องกัน/ต่อต้านยาเสพติด ศูนย์เรียนรู้ชุมชน การวางแผนชุมชน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรฯ เป็นต้น

13 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.5 ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีกิจกรรมแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้านที่ใช้ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น (3) 1 2 3 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมที่แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาหมู่บ้านที่ใช้ความรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม หมายถึงความรู้ ความคิด ความเชื่อที่ท้องถิ่นได้สั่งสมและสืบทอดต่อกันมา ซึ่งเรียนรู้จากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ อันเป็นศักยภาพหรือความสามารถ วิธีการ เครื่องมือเพื่อใช้ในการป้องกันและแก้ปัญหาของการดำรงชีวิต ให้มีความสงบสุขของบุคคลในท้องถิ่นให้อยู่รอด ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน อาจเป็นการอนุรักษ์ การฟื้นฟู การประยุกต์ หรือการสร้างใหม่

14 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 1.6 อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน (4) 1 2 3 4 ในแผนชุมชนมีกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 กิจกรรม 3) จำนวน 3 กิจกรรม 4) จำนวนตั้งแต่ 4 กิจกรรม คำนิยาม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ เช่น กิจกรรมให้ความรู้ฯ การวางแผนฯ การดำเนินการฯ ส่งเสริมลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน เป็นต้น

15 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.1 การมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน (7) 2 4 7 ตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วมในเวทีประชาคม ในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) 70 % ของครัวเรือนทั้งหมด 2) มากกว่า % ของ ครัวเรือนทั้งหมด 3) มากกว่า 75 % ขึ้นไปของ คำนิยาม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประชุม/จัดเวทีประชาคม ในการจัดทำ/ทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน

16 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.2 การมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน ในกระบวนการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้าน (6) 2 4 6 หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน เข้าร่วมเวทีประชาคมในการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) จำนวน 2 หน่วยงาน 2) จำนวน หน่วยงาน 3) จำนวนตั้งแต่ 5 หน่วยงาน คำนิยาม การมีส่วนร่วมในการประชุม/ร่วมเวทีประชาคม ในกระบวนการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้านแต่ละครั้ง

17 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 2. การมีส่วนร่วม (มี 3 ตัวชี้วัดย่อย) 20 2.3 ลักษณะของการมีส่วนร่วม คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจ ดำเนินงานติดตามประเมินผลและใช้ประโยชน์ คำนิยาม มีการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ทางหอกระจายข่าว วิทยุชุมชน การประชุมหมู่บ้าน เป็นต้น (7) 2 4 7 ลักษณะการมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำแผนชุมชน 1) การให้ข้อมูลข่าวสาร - โดยผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน มีการสื่อสารกระบวนการจัดทำแผนชุมชนแก่ประชาชนในหมู่บ้านผ่านช่องทางต่าง ๆ 2) การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในเวทีประชาคม ในการแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมตัดสินใจในการเสนอโครงการ/กิจกรรม ในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน (ต้องผ่านข้อ 1 ด้วย) 3) การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการตามโครงการ ร่วมติดตามตรวจสอบโครงการที่ได้รับงบประมาณดำเนินการ (ต้องผ่านข้อ 1 และ 2 ด้วย

18 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ (2 กิจกรรมย่อย) 25 3.1 ใช้เวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างคนในหมู่บ้านและถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน (13) 4 8 13 มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้าน 1-2 ครั้ง/ปี มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้านและมีการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน 1-2 ครั้ง/ปี 3) มีการจัดเวทีประชาคมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้านและมีการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน 3-4 ครั้ง/ปี คำนิยาม การจัดเวทีเพื่อปรึกษาหารือ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ ของหมู่บ้าน และมีผู้มีองค์ความรู้ มีความสามารถ ทักษะ ที่มีลักษณะเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรุงแต่ง/พัฒนาและถ่ายทอดสืบกันมา เพื่อใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาชีวิตให้สมดุล/เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม มาถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนในที่ประชุม

19 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 3. การเรียนรู้ (2 กิจกรรมย่อย) 25 3.2 มีการทบทวนและจัดการความรู้กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพ (12) 4 7 9 12 มีการประชุมหรือจัดเวทีประชาคมทบทวน/จัดการความรู้กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านของหมู่บ้าน เพื่อปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้านให้มีประสิทธิภาพ 1) จำนวน 1 ครั้ง/ปี 2) จำนวน 2 ครั้ง/ปี 3) จำนวน 3 ครั้ง/ปี 4) จำนวนตั้งแต่ 4 ครั้ง/ปี คำนิยาม การประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้าน และมีการสรุปผลการประชุม/จัดเวทีประชาคม เพื่อนำไปปรับปรุงรูปเล่มแผนพัฒนาหมู่บ้านให้เป็นปัจจุบัน มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

20 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ (3 ตัวชี้วัดย่อย) 25 4.1 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน / ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมด (9) 3 6 9 มีกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้านที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมด 1) จำนวน 30 % ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน 2) มากกว่า 30 %-40% ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน 3) มากกว่า 40 % ขึ้นไป ของกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการเองทั้งหมดในแผนพัฒนาหมู่บ้าน โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน/ชุมชนทำเอ ง โดยใช้ศักยภาพ ทรัพยากร ความรู้ วัสดุ/อุปกรณ์ หรืองบประมาณที่มีอยู่ของหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมดในการดำเนินการ

21 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 25 4.2 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ (8) 3 6 8 มีจำนวนกิจกรรมในแผนชุมชนที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ 1) จำนวน 5-6 กิจกรรม 2) จำนวน 7-8 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 9 กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน/ชุมชนทำร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรการพัฒนาต่าง ๆ หน่วยงาน/องค์กรภาคีอาจให้การสนับสนุนด้านวิชาการ วัสดุ/ครุภัณฑ์ หรืองบประมาณ เป็นต้น

22 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 4. การใช้ประโยชน์ 25 4.3 จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน จะต้องให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้ทั้งหมด (8) 3 6 8 มีจำนวนกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้าน ที่หมู่บ้าน จะต้องให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้ทั้งหมด 1) จำนวน 1 กิจกรรม 2) จำนวน 2 กิจกรรม 3) จำนวนตั้งแต่ 3 กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ในแผนชุมชนที่หน่วยงาน/องค์กรภาคี จัดทำให้ทั้งโครงการ

23 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 5. รูปเล่มแผนชุมชน (5 ตัวย่อย) 10 5.1 มีข้อมูลแสดงประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้าน/ชุมชน (2) 1 2 ในรูปเล่มแผนชุมชนมีข้อมูลแสดงประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้าน/ชุมชน 1) ไม่มี 2) มี ไม่สมบูรณ์ 3) มี สมบูรณ์ 5.2 มีข้อมูลแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน และ/หรือ สภาพปัญหาที่หมู่บ้าน/ชุมชนประสบอยู่ ในรูปเล่มแผนชุมชน มีข้อมูลแสดงให้เห็นศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน และ/หรือ สภาพปัญหาที่หมู่บ้าน/ชุมชนประสบอยู่

24 มาตรฐานแผนชุมชน : ตัวชี้วัดและเกณฑ์
ตัวชี้วัด / ตัวชี้วัดกิจกรรม คะแนนเต็ม ตัวชี้วัดกิจกรรมย่อย 5. รูปเล่มแผนชุมชน (5 ตัวย่อย) 10 5.3 มีข้อมูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาของหมู่บ้าน (2) 1 2 มีจำนวนกิจกรรมในแผนพัฒนาหมู่บ้านมีข้อมูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาของหมู่บ้าน 1) ไม่มี 2) มี ไม่สมบูรณ์ 3) มี สมบูรณ์ 5.4 มีกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน ที่จัดเป็น 2 กลุ่ม ในรูปเล่มแผนพัฒนาหมู่บ้านมีกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน ที่จัดเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) จัดกิจกรรมตามประเภทของกิจกรรม (กิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางสังคม/วัฒนธรรมและกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อม/ทรัพยากรธรรมชาติ) 2) จัดกลุ่มตามลักษณะการดำเนินกิจกรรม (หมู่บ้าน/ชุมชน ดำเนินการเองทั้งหมด ดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ และขอให้หน่วยงานดำเนินการให้ทั้งหมด) 5.5 มีการปรับปรุงแผนพัฒนาหมู่บ้าน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2) มี

25 การผ่านเกณฑ์มาตรฐานแผนชุมชน
คะแนนรวมทั้ง 5 ตัวชี้วัด ต้องได้มากกว่า 70 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดย่อยแต่ละตัว ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ตัวชี้วัดย่อย คะแนนตามเกณฑ์ 60% ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20 12 การมีส่วนร่วม การเรียนรู้ 25 15 การใช้ประโยชน์ รูปเล่มของแผนชุมชน 10 6

26 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google