การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552 สาขาสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก 13 – 20 กรกฎาคม 2552
โครงเรื่องขยาย (4 หน้า) Screenplay Script – treatment Script บทภาพยนตร์ เรื่องย่อ โครงเรื่องขยาย (4 หน้า) Screenplay Script – treatment Script Shooting Script Storyboard Breakdown
act–3 resolution คลี่คลาย งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) โครงสร้างการเขียน What’s happen ? Model of The Premise act–1 setup เปิดตัว act–2 setup เผชิญหน้า act–3 resolution คลี่คลาย Hero พระเอก Action บทบาท Conflict ขัดแย้ง Climax จุดยอด Resolution คลี่คลาย Need ปรารถนา จุดหักเห 1 จุดหักเห 2 30 page 60 page 30 page 1: 2: 1:
การเขียนบทโดยยึดโครงสร้าง act 1–2–3 (Operate–Interrupt–Decision) –บท 5 นาที act-1 1 ½ หน้า, act-2 2 ½ หน้า, act-3 1 หน้า –บท 10 นาที act-1 2 ½ หน้า, act-2 5 หน้า, act-3 2 ½ หน้า –บท 25 นาที act-1 6 หน้า, act-2 13 หน้า, act-3 6 หน้า –บท 120 นาที act-1 30 หน้า, act-2 60 หน้า, act-3 30 หน้า การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) 4 หน้า A4 1. องค์ประกอบ 4 : ending – beginning – plot point I – plot point II 2. ลำดับการเขียน : (บรรยาย)
การเขียนโครงเรื่องขยาย (treatment) 4 หน้า A4 2. ลำดับการเขียน : (บรรยาย) –เปิด scene sequence ½ หน้า –action act-1 –> plot point I ½ หน้า –plot point I –> จบ act1 ½ หน้า –action act-2 (confrontation) 1 หน้า (ลำดับการเผชิญหน้าระหว่าง พระเอก–ผู้ร้าย) –plot point II –> จบ act2 ½ หน้า (climax) –act-3 คลี่คลาย (resolution) ½ – 1 หน้า
องค์ประกอบการเขียนบทภาพยนตร์ (Script model) act–1: beginning เปิดเรื่อง เปิดตัวละคร = need’s actor (set up) p. 1 – 30 (บท 10 sc. = p. 1–2½ ) plot point I p. 25 – 27 (บท 10 sc. = p. 2 ½) act–2: middle ขัดแย้ง เผชิญหน้า พระเอก–ผู้ร้าย = climax (confrontation) p. 30 – 90 (บท 10 sc. = p. 2½ – 8) plot point II p. 85 – 90 (บท 10 sc. = p. 7½ – 8) act–3: ending คลี่คลายปัญหา หลัง climax = decision (resolution) p. 90 – 120 (บท 10 sc. = p. 9 – 10)
องค์ประกอบการเขียนบทภาพยนตร์ (Script model) จำนวนหน้าของบทภาพยนตร์ สั้น ยาว ยืดหยุ่นตามเหมาะสม –บทบรรยายฉาก (scene) –บทสนทนา (dialogue) –บทกำกับการแสดง (stage direction)
งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – ทุกฉาก ต้องมีวัตถุประสงค์ ชัดเจน ดู the premise เป็นหลัก – บอกเวลา สถานที่ของฉาก (ภายนอก ภายใน กลางวัน กลางคืน) – ไม่ต้องเขียนมุมกล้อง (เป็นหน้าที่ของ director ใน shooting script) ให้บอกเล่าแทนสายตาของ กล้อง – เปิดฉากให้มีพลัง ฉากสั้น ฉากยาว ตามเหมาะสม ขึ้นอยู่กับอารมณ์ แต่อย่าเกินเวลาที่กำหนดของแต่ละ องค์ (1:2:1) – การเผยเนื้อหาสาระ ควรดึงเรื่อง ค่อยๆ เปิด ควรปูทางบาง ช็อต ไว้ ถ้าต้องการ จะโยงไปสู่เรื่องในฉากต่อไป วางความหมายซ่อนเร้นไว้
งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – อย่าฉาย scene ซ้ำ – เขียนเป็นภาพ action (เขียนแทนสายตาของกล้อง) – บทสนทนา (dialogue) ไม่จำเป็นทุกฉาก ใช้บท action แทนก็ได้ – จังหวะของฉาก ดนตรี (rhythm) ลีลา (beat) เร็ว-ช้าของการตัดต่อ (tempo) – การเชื่อมฉาก ต่อฉาก ด้วย transition, action, space, sound – การบรรยายฉากหลัง (อาจทำให้บทยาวขึ้น) – การเร้าอารมณ์ (เปลี่ยนอารมณ์) ใน scene หรือ dramatic tension – การพลิกผัน (reversal)
งานสำเร็จ + คุณภาพ + ใช้ทุนน้อย = สำคัญที่บท (script) แนวทางการเขียนบท – Montages คือ นำเอาลำดับของเหตุการณ์แต่ละคัต มารวมกัน ให้เป็นเหตุการณ์หนึ่งเดียว ทำให้เรื่องราวสั้น กระชับ รู้เรื่อง = ผูก time & space ของเหตุการณ์ ที่ต่างวาระกัน ให้มาอยู่ใน scene เดียวกัน – การย้อนอดีต (flashback) – การเขียนกำกับการแสดง (stage directions) และ กำกับเสียงบรรยาย (voice–over narration)
ผู้อำนวยการสร้าง ควบคุมความต่อเนื่อง ผู้กำกับการแสดง ผจก.กองถ่าย ตัดต่อ ลำดับภาพ ฉาก เสื้อผ้า หน้า–ผม ผู้ช่วยผู้กำกับ กล้อง ไฟ ไมค์ ดารานำ ดาราประกอบ ทีมงานสร้าง
เครื่องมือ อุปกรณ์
อุปกรณ์การผลิตภาพ
SOUND & IMAGE . . . . . . . . . . . . . . . .
SOUND & IMAGE . . . . . . . . . . . . . . . .
SOUND & IMAGE . . . . . . . . . . . . . . . .
SOUND & IMAGE . . . . . . . . . . . . . . . .
BROADCAST PRODUCTION SERVICES, INC BROADCAST PRODUCTION SERVICES, INC. 505 S FLOWER STEET, BURBANK, CA 91502 TEL: 818-567-0088 FAX: 818-567-4796
Video Camera -iris -angle -movement -shot size -function
.
Reflector Board
3S Bioscope พื้นฐานสำคัญของหนังคือ 3S S-Story เรื่องต้องดึงดูดใจ ทำให้คนดูเข้าไปอยู่ในหนังด้วย S-Style -ประเภทของภาพยนตร์ -ชนิดของการจำแนก S-Standard ต้องมีมุมกล้อง การจัดแสง เงา สี ทิศทาง องค์ประกอบของศิลปะ
3S Bioscope กฎที่ต้องแหก -คนทำหนังต้องกล้าที่จะ “ตัดฉากฮอท ช็อตเด็ด” ของตัวเองทิ้ง (กล้าตัดฉาก-ตัดคัตสุดยอดทิ้ง) เหตุผล คนทำหนังมักจะเข้าข้างตัวเองเสมอ หรือปรารถนาดีเกินไป ที่ต้องการจะ "ให้" ผู้ดู หรือไม่ก็ต้องการ "อวด" -คนทำหนังต้องทำตัวให้ติดดิน ให้พบง่าย ต้องตัดสินใจให้ได้ก่อนว่าจะ เลือกผู้แสดง (star) หรือ เลือกฉาก (scene & effect)
3S Bioscope กฎที่ต้องแหก -อย่าติด (stick) กับ design มากเกินไปกว่า การเล่าเรื่องที่ลื่นไหล -อย่าดูถูกคนดูด้วยการต่อฉาก ต่อช็อต fade เป็นตัวย่นระยะเวลา cut เป็นตัวกระชับเหตุการณ์ post เป็นตัวตรึงอารมณ์ ของผู้ชม
3S Bioscope หลักสำคัญของบทหนังคือ (1) เริ่มจากที่ไม่มีใครรู้อะไรเลย (1) เริ่มจากที่ไม่มีใครรู้อะไรเลย (2) โปรดจำไว้ว่า บทหนังคือโครงสร้างของเรื่อง ดังนั้น ต้องหา "โครงเรื่อง" ให้เหมาะกับบทที่จะเขียน สุดยอดของผู้กำกับ คือ ทำงานกับนักแสดงได้ง่าย
3S Bioscope หลักสำคัญของบทหนังคือ จากคำแนะนำของเพื่อนที่มีต่อ ลุค แบซง (Luc Besson) ตอนเป็นผู้กำกับหนังสั้นมือใหม่ ที่ต้องการแสดงให้คนเห็นว่า คนที่หนีโรงเรียน มาเอาดีทางหนัง ก็ทำหนังได้เหมือนกัน "ลุค มีอยู่ข้อนะ ที่นายจะต้องเรียนรู้เอาไว้ คือ ถ้านายไม่มีอะไรจะพูดล่ะก็ จงหุบปากซะ!"
การกำกับ กล้อง แสง เสียง การกำกับการแสดง
1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.1 ความสำคัญและประโยชน์ การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.1 ความสำคัญและประโยชน์ - สร้างความเข้าใจในภาพ - สร้างบรรยากาศของเรื่องราว - ทำให้รับรู้เกี่ยวกับมิติและความมืด - ให้เกิดความสวยงาม
1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.2 ลักษณะของแสงเพื่อการถ่ายทำภาพยนตร์ การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.2 ลักษณะของแสงเพื่อการถ่ายทำภาพยนตร์ - แหล่งแสง มาจาก แสงธรรมชาติ แสงจากไฟประดิษฐ์ - ลักษณะของแสง แสงกระด้าง: สร้างความรู้สึกที่รุนแรง แสงนวลฟุ้ง: สร้างอารมณ์ชวนฝัน
1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.3 อิทธิพลของแสงต่ออารมณ์ - ลักษณะของแสง การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 1. แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ 1.3 อิทธิพลของแสงต่ออารมณ์ - ลักษณะของแสง - ทิศทางของแสง - สีของแสง - การส่งผ่านของแสง 1.4 การวัดแสง - วัดแสงสะท้อน - วัดแสงตกกระทบ
2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ -แสงหลัก: Main light | key high -แสงเสริม: Fill light -แสงส่องหลัง: Back light -ส่องผม: hair light -ส่องไหล่: kick light -แสงส่องฉาก (BACKGROUND LIGHT)
2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ ไฟถ่ายทำ การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ ไฟถ่ายทำ - Carbon Arc - Quartz-Halogen - HMI หลอดไฟชนิด Metalic halide ให้อุณภูมิแสง 5,500K ถ่ายทำกลางคืนให้เป็นกลางวัน - Tungsten-Filament ใช้ถ่ายภาพบุคคล
2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ การกำกับแสงและการกำกับการแสดง 2. หลักและวิธีการจัดแสง แสงในการถ่ายทำภาพยนตร์ /วิดีทัศน์ การเตรียมสถานที่ในการจัดแสง - ศึกษาบท - เลือกสถานที่ การจัดแสง - ความสมดุลของแสงบนวัตถุที่เคลื่อนที่ และวัตถุที่อยู่นิ่ง - ความต่อเนื่องของแสง
โครงเรื่องขยาย (4 หน้า) Screenplay Script – treatment Script ทีมงานสร้าง เรื่องย่อ โครงเรื่องขยาย (4 หน้า) Screenplay Script – treatment Script Shooting Script Storyboard Breakdown