สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2545 “โครงการจัดทำแผนแม่บทอุตสาหกรรม ---รายสาขา (สาขาเซรามิกและแก้ว). รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ ---สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม”.,กระทรวงอุตสาหกรรม :หน้า335-338.
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya 1. มีแรงงานฝีมือที่ประณีต และมีวินัย 2. มีรากฐานทางวัฒนธรรม 3. มีบรรยากาศเหมาะสมแก่การลงทุนสำหรับบริษัทต่างชาติ 4. มีตลาดในประเทศและประเทศเพื่อนบ้านรองรับสำหรับผลิตภัณฑ์เกรดรองลงมา 5. มีตลาดในประเทศรองรับสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน 1. ผู้ผลิตส่วนใหญ่ไม่มีDesignsของตนเอง 2. ผู้ประกอบการSMEsขาดความรู้ทางด้านการจัดการธุรกิจ 3. ผู้ประกอบการเหมืองขนาดเล็กยังขาด Know-how ที่เหมาะสม 4. โรงงานส่วนใหญ่เป็นโรงงานรุ่นแรกๆ ใน ASEAN ที่ตั้งมานานกว่า 10 ปี 5. ผู้ประกอบการขาดความรู้ในด้านเครื่องจักร ความสำคัญของการพัฒนาคน 7. ภาวะขาดแคลนอาจารย์ผู้สอนวิชาเซรามิกดั้งเดิม 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีมูลค่าสูง 2. การผลิตสินค้าที่มีศักยภาพด้านการตลาดและมีมูลค่าเพิ่มค่อนข้างสูง 3. ศึกษาลู่ทางและความเป็นไปได้ในการผลิตสินค้าเซรามิก High Tech ตลอดจนสินค้าเซรามิกยุคใหม่ (New Ceramics) 4. เกิดการไหลเวียนของความรู้และเทคโนโลยีในประเทศอย่างกว้างขวาง และทำให้การให้บริการลูกโซ่การผลิตในประเทศครบวงจร 1. สหรัฐอเมริกากำลังผ่านกฎหมายที่จะลดภาษีนำเข้าสินค้าจากเวียดนาม 2. การเป็นสมาชิก WTO ของจีนทำให้การกีดกันผลิตภัณฑ์เซรามิกใน WTO ลดลง 3. การย้ายฐานของผู้ผลิตของเพื่อนบ้าน 4. การสร้างกลไกกีดกันทางการค้าของประเทศคู่ค้าและประเทศคู่แข่ง ได้แก่ มาตรฐานต่างๆ ความปลอดภัยของผู้บริโภค ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทำให้ต้นทุนสูงขึ้น 5. วิกฤตซับไพร์มของอเมริกา 6. ราคาน้ำมันที่สูงขึ้นมีผลต่อราคาแก๊สและค่าขนส่ง By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ธุรกิจเซรามิกส์ แนวโน้ม SMEs สาขาเซรามิกส์ ปี 2549 ไตรมาส 4 ข้อมูล : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม (สสว.)
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิก (30 /11/2549) อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิกจัดเป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ โรงงานขนาดกลางและขนาดเล็กจะใช้แรงงานคนเป็นส่วนใหญ่ในการผลิต ได้แก่ โรงงานผลิตเครื่องแก้วและบรรจุภัณฑ์แก้ว โรงงานแก้วศิลป์ โรงงานผลิตเครื่องปั้นดินเผา หรือโรงงานผลิตเซรามิก อุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่น การก่อสร้าง อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมแก้วและเซรามิกส์สร้างมูลค่าเพิ่มจากการผลิตในประเทศได้เป็นจำนวนมาก เพราะวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่สามารถหาได้จากภายในประเทศ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) กระจายตัวอยู่ทั่วประเทศ จึงมีส่วนช่วยสร้างและกระจายรายได้ไปสู่ชนบทได้เป็นอย่างดี ปี 2549 อุตสาหกรรมเซรามิกมีมูลค่าตลาดโดยรวมประมาณ 18,000 – 20,000 ล้านบาท By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549) นิยามของอุตสาหกรรมเซรามิก หมายถึง โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ที่ส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดหรือส่วนใหญ่ผลิตจากวัตถุดิบที่มีอยู่ตามธรรมชาติบนเปลือกโลก ซึ่งกรรมวิธีการผลิตต้องผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูง อุตสาหกรรมเซรามิกจะประกอบด้วย เซรามิกชนิดไม่ทนไฟซึ่งไม่ได้ใช้ในงานก่อสร้าง เซรามิกทนไฟ เซรามิกชนิดไม่ทนไฟซึ่งใช้กับงานก่อสร้าง อุตสาหกรรมเซรามิกพื้นฐานของอุตสาหกรรมประเภทอื่น ๆ อุตสาหกรรมไฟฟ้า อุตสาหกรรมแก้ว อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันในตลาดโลกของสาขาผลิตภัณฑ์เซรามิก พบว่า ประเทศไทยมีอัตราการเติบโตค่อนข้างสูง (39.34 %) เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของตลาดโลกที่มีอัตราการเติบโต -8.2% มีส่วนแบ่งทางการตลาดที่ 0.02 เท่า แต่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดโลก (0.1) โดยตกอยู่ในสถานะเฝ้าระวัง ต้องพยายามเพิ่มส่วนแบ่งตลาดให้สูงขึ้น กลุ่มผู้นำ ได้แก่ China, Italy, United Kingdom เป็นต้น By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันของ SMEs ในสาขาแก้วและเซรามิกมีอัตราการเติบโตลดลงจากระดับ 0.8% ในปี 2548 เป็น -4.8% ในปี 2549 และต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศค่อนข้างมาก (14.5% สำหรับ ปี 2548) ในขณะที่มีส่วนแบ่งทางการตลาด 0.01 เท่าในปี 2549 ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมทั้งหมด (0.1) โดยตกอยู่ในสถานะตกต่ำ จำเป็นต้องปรับปรุงเพื่อขยายอัตราการเติบโตและส่วนแบ่งตลาดให้สูงขึ้นต่อไป By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya
By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya ผลการวิเคราะห์อุตสาหกรรมเซรามิก (30 /11/2549):สรุปข้อมูลเพื่อการเตือนภัย การแข่งขันของ SMEs ประเภทแก้วและเซรามิก ในปี 2549 เทียบกับปี 2548 จะพบว่า ทุกผลิตภัณฑ์จะมีอัตราการเติบโตลดลง ได้แก่ ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ ของชำร่วยและเครื่องประดับ กระเบื้องปูพื้นปิดผนังและโมเสค เครื่องสุขภัณฑ์ ส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น ได้แก่ ถ้วยชามทำด้วยเซรามิก ผลิตภัณฑ์เซรามิกอื่นๆ ส่วนแบ่งตลาดลดลง ได้แก่ ของชำร่วยและเครื่องประดับ กระเบื้องปูพื้นปิดผนังและโมเสค By Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya