ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปยอดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลปีใหม่ 29 ธ.ค. 53 – 4 ม.ค. 54
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
งานข้อมูลท้องถิ่น สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
อธิบดีกรมควบคุม โรค นพ. พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์. สถานการณ์โรคที่ ต้องเฝ้าระวัง.
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
สถานการณ์โรคที่ ต้องเฝ้าระวัง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในเขตฯ 11,13 ณ วันที่ 4 ต. ค.54.
ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคเรื้อรัง
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 พค 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
โครงการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2548
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
จำนวนผู้ป่วยไข้ปวดข้อยุงลาย (CHIKUNGUNYA) แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง พ. ศ.2552.
การติดตามประเมินผล ปี 2552
Geographic Information System
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
 ใช้กำกับการดำเนินงาน  กำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูล  รักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล  ใช้ติดตามสถานการณ์ความผิดปกติร่วมกัน ระหว่างเครือข่าย.
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ โดยกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๗ จังหวัดอุบลราชธานี

ความเป็นมาและเหตุผล ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อมีระบบที่ชัดเจนแต่ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ ยังไม่มีระบบการนำเสนอข้อมูลที่ยืดหยุ่นและตอบสนองต่อการนำไปใช้ของผู้ใช้ที่มีหลากหลายระดับ

กรอบแนวคิดการพัฒนา

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการนำเสนอข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ ด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS) สคร. ๗ จังหวัดอุบลราชธานี

วิธีการพัฒนา (Software Development Life Cycle-SDLC) ใช้หลักการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์โดยทั่วไป ที่เรียกว่า วงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Life Cycle-SDLC)

ผลการพัฒนา ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Online) ผ่านโปรแกรม Browser http://203.157.45.8:8000/chronic_dpc7

ผลการพัฒนา 2. สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข(เขต 11 และเขต 13) ตั้งแต่ระดับเขต จังหวัด อำเภอและตำบล โดยข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจุบัน แยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ

ผลการพัฒนา 3.สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข(เขต 11 และเขต 13) ตั้งแต่ระดับเขตจนถึงระดับตำบล ณ ปีปัจจุบันและย้อนหลังจากปีปัจจุบัน แยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ 5 อันดับแรก

ผลการพัฒนา 4. สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข (เขต 11 และเขต 13) แยกตามกลุ่มอายุ ณ ปี ปัจจุบันและย้อนหลังจากปีปัจจุบัน

ผลการพัฒนา 5.สามารถแสดงข้อมูลเชิงตัวเลขและตารางแยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ และส่งออกข้อมูลในรูปแบบของไฟล์ HTML

ข้อเสนอแนะ 1. โปรแกรมจัดเก็บข้อมูลในสถานบริการต่างๆ ควรปรับปรุงรหัสอ้างอิงตามรูปแบบ 18 แฟ้มมาตรฐาน ที่ สนย.กำหนด

ข้อเสนอแนะ 2. ควรมีระบบการปรับปรุงข้อมูลและแสดงผลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ ที่เป็นอัตโนมัติ(Automatic)

ข้อเสนอแนะ 3. ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากระบบ 3. ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากระบบ ควรสามารถให้บริการในลักษณะรูปแบบไฟล์ข้อมูล Excel,XML โดยเป็นการให้บริการลักษณะ Web Services เพื่อลดแรงงานในการจัดการกับข้อมูลของผู้ขอรับการบริการ

http://203.157.45.8:8000/chronic_dpc7

แสดงข้อมูลตามกลุ่มอายุ

แสดงข้อมูลที่ถูกส่งออกเป็น HTML สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี จำนวนป่วยโรคDiabetes (รวม) ปี 2553 พื้นที่เขตตรวจราชการฯ 11 และ 13 ลำดับที่ จังหวัด อัตาป่วย ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1 ศรีสะเกษ 313.22 4,455 2 อุบลราชธานี 2,197.67 38,897 3 ยโสธร 815.86 7,971 4 อำนาจเจริญ 271.52 4,753 5 สกลนคร 0.00 6 นครพนม 7 มุกดาหาร 484.08 4,639