ระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ โดยกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๗ จังหวัดอุบลราชธานี
ความเป็นมาและเหตุผล ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อมีระบบที่ชัดเจนแต่ระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ ยังไม่มีระบบการนำเสนอข้อมูลที่ยืดหยุ่นและตอบสนองต่อการนำไปใช้ของผู้ใช้ที่มีหลากหลายระดับ
กรอบแนวคิดการพัฒนา
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการนำเสนอข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ ด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information System-GIS) สคร. ๗ จังหวัดอุบลราชธานี
วิธีการพัฒนา (Software Development Life Cycle-SDLC) ใช้หลักการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์โดยทั่วไป ที่เรียกว่า วงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development Life Cycle-SDLC)
ผลการพัฒนา ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Online) ผ่านโปรแกรม Browser http://203.157.45.8:8000/chronic_dpc7
ผลการพัฒนา 2. สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข(เขต 11 และเขต 13) ตั้งแต่ระดับเขต จังหวัด อำเภอและตำบล โดยข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจุบัน แยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ
ผลการพัฒนา 3.สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข(เขต 11 และเขต 13) ตั้งแต่ระดับเขตจนถึงระดับตำบล ณ ปีปัจจุบันและย้อนหลังจากปีปัจจุบัน แยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ 5 อันดับแรก
ผลการพัฒนา 4. สามารถแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่แยกตามเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข (เขต 11 และเขต 13) แยกตามกลุ่มอายุ ณ ปี ปัจจุบันและย้อนหลังจากปีปัจจุบัน
ผลการพัฒนา 5.สามารถแสดงข้อมูลเชิงตัวเลขและตารางแยกตามโรคในระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ และส่งออกข้อมูลในรูปแบบของไฟล์ HTML
ข้อเสนอแนะ 1. โปรแกรมจัดเก็บข้อมูลในสถานบริการต่างๆ ควรปรับปรุงรหัสอ้างอิงตามรูปแบบ 18 แฟ้มมาตรฐาน ที่ สนย.กำหนด
ข้อเสนอแนะ 2. ควรมีระบบการปรับปรุงข้อมูลและแสดงผลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ ที่เป็นอัตโนมัติ(Automatic)
ข้อเสนอแนะ 3. ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากระบบ 3. ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ได้จากระบบ ควรสามารถให้บริการในลักษณะรูปแบบไฟล์ข้อมูล Excel,XML โดยเป็นการให้บริการลักษณะ Web Services เพื่อลดแรงงานในการจัดการกับข้อมูลของผู้ขอรับการบริการ
http://203.157.45.8:8000/chronic_dpc7
แสดงข้อมูลตามกลุ่มอายุ
แสดงข้อมูลที่ถูกส่งออกเป็น HTML สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี จำนวนป่วยโรคDiabetes (รวม) ปี 2553 พื้นที่เขตตรวจราชการฯ 11 และ 13 ลำดับที่ จังหวัด อัตาป่วย ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย 1 ศรีสะเกษ 313.22 4,455 2 อุบลราชธานี 2,197.67 38,897 3 ยโสธร 815.86 7,971 4 อำนาจเจริญ 271.52 4,753 5 สกลนคร 0.00 6 นครพนม 7 มุกดาหาร 484.08 4,639