พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
แบบรูปและความสัมพันธ์
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
วิชาว่าความและ การถามพยาน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อำนาจและหน้าที่ของพนักงานอัยการ
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
พระราชบัญญัติการโฆษณา
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ.2542
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
เงื่อนไขการรับฟ้องและ ในคดีปกครองด้าน สิ่งแวดล้อม
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การลงข้อมูลแผนการสอน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
Commission Commission on Higher Education Quality Assessment online system CHEQA Updated July 25, 2013
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การค้นในปริภูมิสถานะ
1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา อย่างไร 4. ผู้อื่นทำหน้าที่แทนได้ หรือไม่ 1. มาอย่างไร 2. ปัจจุบันใครเป็นบ้าง 3. อำนาจหน้าที่ได้มา.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ส่วนที่ 2
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑ พงษ์เดช วานิชกิตติกูล ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจำสำนักประธานศาลฎีกา

พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ ▪ ที่มา และ วัตถุประสงค์ ▪ เหตุผลที่ต้องคุ้มครองผู้บริโภค ▪ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค ▪ สภาพปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเยียวยาความ เสียหายให้แก่ผู้บริโภค (Law enforcement)

สาระสำคัญ ลักษณะของคดีผู้บริโภค หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน การฟ้องคดีผู้บริโภค ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค การสืบพยาน การพิพากษาคดี การอุทธรณ์ฎีกา การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา การบังคับคดี

ลักษณะของคดีผู้บริโภค ต้องเป็นคดีแพ่งดังต่อไปนี้ (ม.๓) ▪ คดีพิพาทระหว่างผู้บริโภค (รวมถึงผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนตาม ม.19)กับผู้ ประกอบธุรกิจอันเนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ ▪ คดีพิพาทตามก.ม ว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ไม่ ปลอดภัย (Product Liability Law) ▪ คดีที่เกี่ยวพันกับคดีสองประเภทข้างต้น ▪ คดีที่มีกฎหมายบัญญัติให้ใช้วิธีพิจารณาตามพ.ร.บ. นี้ * ในกรณีที่มีปัญหาว่าเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ต้องส่งให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัย (ม.8)

หลักวิธีพิจารณาคดีพื้นฐาน ไม่เป็นทางการ (Informality) ( ม.9,15,25) สะดวก (Convenience) (ม.20,26,33) ประหยัด ( No cost) (ม.18) รวดเร็ว (speedy trial) (ม.35, 49) เป็นธรรม (Fairness) (ม.10, 11, 13, 14, 41, 44, 33, 34, 36, 39, 17) สุจริต (good faith) (ม.12, 18, 27)

การฟ้องคดีผู้บริโภค ▪ ผู้มีอำนาจฟ้องคดี (ม.19) ▪ อายุความ (ม.13, 14) ▪ ผู้มีอำนาจฟ้องคดี (ม.19) ▪ อายุความ (ม.13, 14) ▪ วิธีการฟ้องคดี (ม.20, 21) ▪ ค่าฤชาธรรมเนียม (ม.18)

ภาระการพิสูจน์ในคดีผู้บริโภค ▪ หลักกล่าวอ้าง ▪ ข้อสันนิษฐาน (Presumptions) ▪ ข้อสันนิษฐานตามกฎหมาย (Presumption of law) ▪ ข้อสันนิษฐานตามความเป็นจริง (Presumption of facts) ▪ ข้อเท็จจริงที่อยู่ในความรู้เห็นของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งโดยเฉพาะ (Exclusive knowledge) (ม.29)

การสืบพยาน การสืบพยานไว้ก่อนฟ้องคดี (ม.22, 23) การนัดพิจารณาและการขาดนัด (ม.24, 25, 26, 27, 28) ศาลมีบทบาทในการแสวงหาข้อเท็จจริง (ม.33, 34, 36)

การพิพากษาคดี คำพิพากษาอาจผูกพันบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่คู่ความในคดี (ม.30, 43) พิพากษาเกินคำขอได้ (ม.39) การกำหนดค่าเสียหายเพิ่มเติมภายหลังพิพากษาคดี (ม.40) ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (ม.42)

ค่าเสียหายเชิงลงโทษ ม.42 ▪ ความจำเป็น ▪ แพ่ง / อาญา ▪ เจตนา / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง / ประมาทเลินเล่อ ▪ มีเพดาน / ไม่มีเพดาน ▪ ตกได้แก่ใคร ▪ เอาประกันภัยได้หรือไม่

การอุทธรณ์ฎีกา หลักความเป็นที่สุดของคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ (ม.49) การจัดตั้งแผนกคดีผู้บริโภคในศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค (ม.45,46) การขออนุญาตอุทธรณ์ในคดีที่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง (ม.48) การขออนุญาตฎีกา (ม.51, 52) การพิพากษาคดีของศาลฎีกา (ม.54)

การคุ้มครองชั่วคราวก่อนพิพากษา การคุ้มครองชั่วคราวก่อนยื่นฟ้องคดี (ม.56-62) การคุ้มครองชั่วคราวในระหว่างพิจารณาคดี (ม.63)

การบังคับคดี ไม่จำต้องออกคำบังคับหากเนิ่นช้าไปจะไม่อาจบังคับคดีได้ (ม.64) หากภายหลังมีข้อขัดข้องในการบังคับคดี ศาลมีอำนาจออกคำสั่ง ใดๆเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องดังกล่าว (ม.65)