วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

การปฏิบัติราชการของจังหวัด
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มีนาคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการตามแผนปฏิบัติงาน
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
งานกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน พฤษภาคม 2551.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตต้นแบบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
สรุปผลการดำเนินงาน สพอ.เดิมบางนางบวช ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2557
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ 142,234 แห่ง เป้าหมายการดำเนินงานอาหารสะอาด รสชาติ อร่อย ปี 2549 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้ มาตรฐาน 60%
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2555 วันที่ 15 ตุลาคม 2555.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2551 ( เฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้อง ) ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ราชบุรี ผลงานถึงเดือนพฤษภาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน การติดตามผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ผ่านระบบ Web Conference) วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน การติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552

ดำเนินงานได้ 877หมู่บ้าน สัจจะสะสมร้อยละ12 ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินงานได้ 877หมู่บ้าน สัจจะสะสมร้อยละ12 น้ำหนักร้อยละ 4 5. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 5 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ระดับเพิ่มขึ้นของเงินสัจจะสะสมของกลุ่มออมทรัพย์ฯ ร้อยละ 3 3. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 877 หมู่บ้าน (877อำเภอ) 2. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 770 หมู่บ้าน(770อำเภอ) น้ำหนักร้อยละ 4 กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 525 หมู่บ้าน (525อำเภอ)

ดำเนินการได้ 5,500 กลุ่ม ร้อยละ 30.17 ร้อยละ 30 ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ น้ำหนัก: ร้อยละ 3 คำอธิบาย:  กลุ่มผู้ผลิตชุมชนหมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ยกเว้น กทม.) จำนวนทั้งสิ้น 18,230 กลุ่ม  การบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ หมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนสามารถบรรลุเป้าหมายเชิงรายได้ตามแผนธุรกิจ คือ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีการดำเนินกิจการตามแผนธุรกิจและมีรายได้คุ้มทุน  รายได้คุ้มทุน หมายถึง รายได้รวมเท่าต้นทุนรวมพอดี ดำเนินการได้ 5,500 กลุ่ม ร้อยละ 30.17 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2553 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 30 1 2 3 4 5 - ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีแผนธุรกิจ น้ำหนักร้อยละ 2.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมให้กลุ่มผู้ผลิตชุมชนต้นแบบ ซึ่งหมายถึง กลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่มีแผนธุรกิจในปี 2551 จำนวน 8,030 กลุ่ม สามารถบรรลุเป้าหมายตามแผนธุรกิจ และมีรายได้คุ้มทุน จำนวน 4,046 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 50.38 ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน - 3,020 ร้อยละ 20 ร้อยละ 22.5 ร้อยละ 25 ร้อยละ 27.5 ร้อยละ 30 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มผู้ผลิตชุมชนในปี 2553 จำนวน 18,230 กลุ่ม

ดำเนินงานได้ 75 แห่ง 75 จังหวัด ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ดำเนินงานได้ 75 แห่ง 75 จังหวัด น้ำหนักร้อยละ 2 5. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ได้รับประกาศรับรองการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน โดยต้องมีธนาคารออมสินหรือ ธ.ก.ส. ที่มีสาขาในจังหวัดให้การรับรอง ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. มีการประเมินผลการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีคณะทำงาน ประเมิน และจะต้องมีผู้ประเมินภายนอก(Third Party)ร่วมประเมิน ด้วย 3. มีการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ตามเกณฑ์ครบ 75 จังหวัด 75 แห่ง 2. มีการดำเนินงานในระดับที่1ครบถ้วนและผู้นำกองทุนชุมชนได้รับ การพัฒนาศักยภาพโดยผ่านเกณฑ์อย่างน้อยร้อยละ 90 น้ำหนักร้อยละ 4 กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ดำเนินการได้ครบทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน มีคณะทำงานสนับสนุนการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุน ชุมชนระดับจังหวัด75จังหวัด 75 คณะและคณทำงานฯระดับอำเภอ 75อำเภอ 75 คณะ

ดำเนินการได้ 3,921 กลุ่ม ร้อยละ 40.83 ร้อยละ 40 ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการยกระดับจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชน ด้วยการออมเงินแล้วนำมาสะสมรวมกัน เป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อเป็นทุนสำหรับสมาชิกกู้ยืมไปใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพ หรือสวัสดิการของครอบครัว  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 2 มีคะแนน 58-76 คะแนน ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 6 ตัวขึ้นไป  กลุ่มออมทรัพย์ฯ ระดับ 3 มีคะแนน 77 คะแนนขึ้นไป ตัวชี้วัดหลัก ได้ 3 คะแนน 8 ตัวขึ้นไป ดำเนินการได้ 3,921 กลุ่ม ร้อยละ 40.83 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2553 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 40 1 2 3 4 5 3,069 ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่มีการยกระดับจากระดับ 2 เป็นระดับ 3 กรมการพัฒนาชุมชนได้ดำเนินการให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 2 คือกลุ่มที่มีผลการดำเนินงานระดับพอใช้ มีการยกระดับเป็นกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 3 หรือกลุ่มที่มีผลการดำเนินงานในระดับดี สามารถดำเนินการได้จำนวนทั้งสิ้น 3,876 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 32.34 จากกลุ่มออมทรัพย์ระดับ 2 ทั้งหมด 11,984 กลุ่ม ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 3,917 3,876 ร้อยละ 24 ร้อยละ 28 ร้อยละ 32 ร้อยละ 36 ร้อยละ 40 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ระดับ 2 ทั้งหมด 9,602 กลุ่ม

ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน น้ำหนักร้อยละ 3 ดำเนินการได้ 2,519 กลุ่มและรายได้.....บาท 5. มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมาย รวมทั้งหมด เพิ่มขึ้นมากกว่าค่าเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของมูลค่า การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาจาก KBOจังหวัด ได้ร้อยละ50 ในภาพรวม (2,125 กลุ่ม) 3. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายผ่านการรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาก KBOจังหวัด ได้ ร้อยละ 35 ในภาพรวม (1,488กลุ่ม) 2. กลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ กลุ่ม(4,250กลุ่ม) ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน กำหนดกลุ่มผู้ผลิตชุมชนเป้าหมายที่มีความต้องการ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละจังหวัด(ร้อยละ 20 ของกลุ่มผู้ผลิตชุมชนที่ลงทะเบียนฯหรือ4,250กลุ่ม

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนตามเกณฑ์ที่กำหนด น้ำหนัก: ร้อยละ 2 คำอธิบาย:  ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชน หมายถึง ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างน้อย 5 ใน 7 กิจกรรม ได้แก่ 1) การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช.2ค 2) การจัดทำแผนชุมชน 3) การจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4) การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย 6) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด กิจกรรมบังคับ 1-4 กิจกรรมที่ 5-7 เลือกอีกอย่างน้อย 1 กิจกรรม ดำเนินการได้ 11,021 คน ร้อยละ 86.30 ผลงานปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าฯ ปี 2552 เกณฑ์การให้คะแนน 2550 2551 2552 ร้อยละ 85 1 2 3 4 5 - ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 ร้อยละของผู้นำ อช. ที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชนตามเกณฑ์ที่กำหนด กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้นำ อช. สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมได้อย่างน้อย 5 กิจกรรม จาก 7 กิจกรรม ดังต่อไปนี้คือ 1. การจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช. 2ค 2. การจัดทำแผนชุมชน 3. ศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4. การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย 5. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7. การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกิจกรรมที่ 1-2-3-4 เป็นกิจกรรมภาคบังคับ ทั้งนี้ ผู้นำ อช.ที่สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมตามเกณฑ์ดังกล่าวได้ทั้งสิ้น 8,341 คน คิดเป็นร้อยละ 65.31 จากจำนวนผู้นำ อช.ทั้งหมด 12,770 คน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 50.67 65.31 ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด จำนวนผู้นำ อช.ที่ได้รับคำสั่งแต่งตั้งจากจังหวัดให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ ปี 52-53 ทั้งหมด 12,770 คน

ได้มาตรฐาน 11,165แผนและได้งบประมาณ9,947แผน ร้อยละ89.09 ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 ระดับความสำเร็จของแผนชุมชนที่ผ่าน การรับรองมาตรฐาน ดำเนินการได้ ได้มาตรฐาน 11,165แผนและได้งบประมาณ9,947แผน ร้อยละ89.09 น้ำหนักร้อยละ 2 5.ร้อยละ60ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(6,240) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย 1 กิจกรรม/โครงการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. ร้อยละ50ของแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(5,184) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณหรือร่วมดำเนินการจาก อปท. อย่างน้อย1กิจกรรม/โครงการ 3. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(10,367) 2. จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน(9,675) ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน จำนวนแผนชุมชนที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน (8,984)

ตัวชี้วัดที่ 3.1.5ระดับความสำเร็จของหมู่บ้านที่มีการปรับปรุง การนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ดำเนินการได้ 2,367 หมู่บ้าน น้ำหนักร้อยละ 3 5.หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ในระดับคะแนน4จัดทำข้อมูลเด่นที่ แสดงเอกลักษณ์ของหมู่บ้านตามเกณฑ์ที่กำหนด อย่างน้อย 1 ประเภท (1,316หมู่บ้าน) ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1 4. หมู่บ้านที่มีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ในระดับ3คะแนนและมีรูปภาพกิจกรรม เผยแพร่ทางเว็บไซต์ไม่น้อยกว่าร้อยละ50(1,316หมู่บ้าน) 3.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ครบ ตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ)ร้อยละ100(2,631) 2.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ ร้อยละ90(2,368) ตัวชี้วัดที่ 3.1.2 ระดับความสำเร็จของการลดจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ด้วยการปรับปรุงหนี้ น้ำหนักร้อยละ 1.5 กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสริมมีการปรับปรุงหนี้จากจำนวนเงินกู้ที่ค้างชำระกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ได้ดำเนินการครบถ้วนทุกขั้นตอน ประเมินผลตนเองได้เท่ากับ 5 คะแนน 1.หมู่บ้านมีการปรับปรุงการนำเสนอข่าวสารผ่านเว็บไซต์ ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด(5องค์ประกอบ) ร้อยละ80 (2,105หมู่บ้าน)

ฝากจากท่านรอง ฯ พิสันติ์ จังหวัดควรให้ความสนใจในฐานข้อมูลของแต่ละตัวชี้วัด ฝากกลุ่มสารสนเทศ ฯ ทำระบบฐานข้อมูลให้ชัดเจน ตรวจสอบ เตรียมหลักฐาน ให้พร้อมตรวจ ฯ จังหวัดซักซ้อม กลุ่มเป้าหมายควรรู้ตัวด้วย เพื่อเตรียมความพร้อม สุ่มตรวจเรื่องความพึงพอใจ ฯ จาก สนง.สถิติ

ขอขอบคุณ ขอบพระคุณค่ะ กรมการพัฒนาชุมชนขอพระขอบคุณคณะติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการเป็นสูงมา ณ โอกาสนี้ และกรมการพัฒนาชุมชนพร้อมรับข้อเสนอแนะที่จะนำไปปรับปรุงการปฏิบัติราชการให้บรรลุสัมฤทธิผลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนต่อไป