คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
เจ้าภาพหลัก สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
กระบวนการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
วันพุธที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ประชุม War room กรมการพัฒนาชุมชน
การมอบหมายภารกิจผู้นำชุมชน หลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน.
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ตัวชี้วัดเกษตรจังหวัด : รอบที่ 1/2554 เกี่ยวกับ งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ตัวชี้วัดที่ 1 : ความสำเร็จในการบันทึกข้อมูลผลการจัดทำกระบวนการเรียนรู้ที่ได้รับการ.
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การรายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มอำนวยการ.
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ - คิดค้น พัฒนาดัดแปลง และผลิตเครื่องจักรกล เครื่องมือ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
กลุ่มโรงงานเครื่องจักรกล มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติคุณภาพ การให้บริการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ อำนาจหน้าที่ ยุทธศาสตร์สำนัก / กอง / ศูนย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของ.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
การจัดทำแผนชุมชน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มขีด ความสามารถการเตรียมความพร้อมในการ จัดการสาธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ระดับ ชื่อตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก 1.1.1 กระทรวง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน 5 1.12 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ( ตัวชี้วัดร่วม พช.+ ปค.+ สถ. ) 3.2 กลุ่มภารกิจ ร้อยละของเทศบาล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ตัวชี้วัดร่วม สถ. + พช.) 4.3 กรมฯ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6

ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาล และอบต.ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาล และอบต.ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง สถ.+พช. (เป็นตัวชี้วัดเดิมปี 2554 ตัวชี้วัดที่ 2.5) ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 1 2 3 4 5 ร้อยละของเทศบาลตำบล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 (527 แห่ง) 65 (571 แห่ง) 70 (615 แห่ง) 75 (659 แห่ง) 80 703 แห่ง) ค่าน้ำหนัก : ร้อยละ 5

กระบวนการนำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นตามเกณฑ์ที่กำหนด ลำดับ กิจกรรม 1 ตั้งคณะทำงานสนับสนุนกระบวนการแผนชุมชนระดับท้องถิ่น หรือมีคณะทำงานอื่นในระดับท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว ที่มีหน่วยงาน องค์กร ผู้นำภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงาน และมีแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2 เทศบาล อบต.ต้นแบบ และคณะทำงานตามข้อ (1) สนับสนุนให้คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือคณะกรรมการชุมชน จัดให้มีเวทีประชาคม ทบทวน ปรับปรุงแผนชุมชนให้ครอบคลุมมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามสภาพปัญหาและความต้องการของหมู่บ้าน ชุมชน โดยใช้ข้อมูลหมู่บ้าน ชุมชน จปฐ. กชช.2 ค ประกอบการดำเนินงาน 3 เทศบาล อบต.ต้นแบบ และคณะทำงานตามข้อ (1) สนับสนุนให้ ศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนรับตำบล (ศอช.ต.) และ สภาองค์กรชุมชนตำบล(สอช.) (ถ้ามี) หรือองค์กรภาคประชาชนอื่นระดับตำบลหรือประชาคมตำบล ร่วมกับแกนนำแผนชุมชนในหมู่บ้าน ชุมชน จัดเวทีประชาคมระดับเทศบาล อบต. บูรณาการแผนชุมชนระดับเทศบาล อบต. ที่มีมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิตด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4 นำโครงการ/กิจกรรม จากแผนชุมชนที่เกิดจากเวทีประชาคมตามข้อ (3) ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ ตามลำดับความสำคัญ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 กำหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไป 5 โครงการ/กิจกรรม ในแผนชุมชนที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ได้รับการบรรจุไว้ในร่างข้อบัญญัติงบประมาณของเทศบาลหรือ อบต.ต้นแบบ ในปีถัดไป

เป้าหมาย X 100 สูตรการคำนวณ เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของเทศบาล และ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (703 แห่ง) 80% สูตรการคำนวณ จำนวนเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด X 100 จำนวนเทศบาลและอบต.ต้นแบบทั้งหมด (878 แห่ง) เป้าหมาย

การสนับสนุนตัวชี้วัดที่ 3.2 พัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล โครงการ ศอช.พัฒนาไทย เสริมสร้างขีดความสามารถเครือข่ายองค์การชุมชน สร้างพลังเครือข่าย ศอช.ระดับตำบล พัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน

ผู้รับผิดชอบ ผู้จัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ชื่อ - สกุล หมายเลขติดต่อ สถ. นายธนา ยันตรโกวิท 0 2241-9000 ต่อ 4122-23 นายชัยพัฒน์ ไชยสวัสดิ์ นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ 0 2223 - 5244 นายกฤษดา สมประสงค์ พช. นางวรรณา ลิ่มพานิชย์ 0 2141 -6110 ผู้จัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ชื่อ - สกุล หมายเลขติดต่อ สถ. นายรุ่งทวี แก้วคำปา 0 2241-9000 ต่อ 4122-23 น.ส.วรุณพร มณีฉาย นายยุทธิชัยไมตรีจิต พช. น.ส.ธนพร คล้ายกัน 0-2141-6128 น.ส.วรรณพร บุญมี 0-2141-6114

Q&A