คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด มิติที่ ๑ มิติภายนอก จำนวน ๔ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ระดับ ชื่อตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก 1.1.1 กระทรวง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บ้าน 5 1.12 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ( ตัวชี้วัดร่วม พช.+ ปค.+ สถ. ) 3.2 กลุ่มภารกิจ ร้อยละของเทศบาล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ตัวชี้วัดร่วม สถ. + พช.) 4.3 กรมฯ ร้อยละของผู้นำ อช. ที่ดำเนินการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6
ตัวชี้วัดระดับกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาล และอบต.ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละของเทศบาล และอบต.ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่าง สถ.+พช. (เป็นตัวชี้วัดเดิมปี 2554 ตัวชี้วัดที่ 2.5) ตัวชี้วัด หน่วยวัด เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 1 2 3 4 5 ร้อยละของเทศบาลตำบล และ อบต. ต้นแบบ ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 60 (527 แห่ง) 65 (571 แห่ง) 70 (615 แห่ง) 75 (659 แห่ง) 80 703 แห่ง) ค่าน้ำหนัก : ร้อยละ 5
กระบวนการนำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นตามเกณฑ์ที่กำหนด ลำดับ กิจกรรม 1 ตั้งคณะทำงานสนับสนุนกระบวนการแผนชุมชนระดับท้องถิ่น หรือมีคณะทำงานอื่นในระดับท้องถิ่นที่มีอยู่แล้ว ที่มีหน่วยงาน องค์กร ผู้นำภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นคณะทำงาน และมีแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2 เทศบาล อบต.ต้นแบบ และคณะทำงานตามข้อ (1) สนับสนุนให้คณะกรรมการหมู่บ้าน หรือคณะกรรมการชุมชน จัดให้มีเวทีประชาคม ทบทวน ปรับปรุงแผนชุมชนให้ครอบคลุมมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามสภาพปัญหาและความต้องการของหมู่บ้าน ชุมชน โดยใช้ข้อมูลหมู่บ้าน ชุมชน จปฐ. กชช.2 ค ประกอบการดำเนินงาน 3 เทศบาล อบต.ต้นแบบ และคณะทำงานตามข้อ (1) สนับสนุนให้ ศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนรับตำบล (ศอช.ต.) และ สภาองค์กรชุมชนตำบล(สอช.) (ถ้ามี) หรือองค์กรภาคประชาชนอื่นระดับตำบลหรือประชาคมตำบล ร่วมกับแกนนำแผนชุมชนในหมู่บ้าน ชุมชน จัดเวทีประชาคมระดับเทศบาล อบต. บูรณาการแผนชุมชนระดับเทศบาล อบต. ที่มีมิติการพัฒนาอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและคุณภาพชีวิตด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4 นำโครงการ/กิจกรรม จากแผนชุมชนที่เกิดจากเวทีประชาคมตามข้อ (3) ที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ ตามลำดับความสำคัญ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 กำหนดไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไป 5 โครงการ/กิจกรรม ในแผนชุมชนที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของปีถัดไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ได้รับการบรรจุไว้ในร่างข้อบัญญัติงบประมาณของเทศบาลหรือ อบต.ต้นแบบ ในปีถัดไป
เป้าหมาย X 100 สูตรการคำนวณ เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของเทศบาล และ อบต.ต้นแบบที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (703 แห่ง) 80% สูตรการคำนวณ จำนวนเทศบาลและ อบต.ต้นแบบที่ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด X 100 จำนวนเทศบาลและอบต.ต้นแบบทั้งหมด (878 แห่ง) เป้าหมาย
การสนับสนุนตัวชี้วัดที่ 3.2 พัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล โครงการ ศอช.พัฒนาไทย เสริมสร้างขีดความสามารถเครือข่ายองค์การชุมชน สร้างพลังเครือข่าย ศอช.ระดับตำบล พัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
ผู้รับผิดชอบ ผู้จัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ชื่อ - สกุล หมายเลขติดต่อ สถ. นายธนา ยันตรโกวิท 0 2241-9000 ต่อ 4122-23 นายชัยพัฒน์ ไชยสวัสดิ์ นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ 0 2223 - 5244 นายกฤษดา สมประสงค์ พช. นางวรรณา ลิ่มพานิชย์ 0 2141 -6110 ผู้จัดเก็บข้อมูล หน่วยงาน ชื่อ - สกุล หมายเลขติดต่อ สถ. นายรุ่งทวี แก้วคำปา 0 2241-9000 ต่อ 4122-23 น.ส.วรุณพร มณีฉาย นายยุทธิชัยไมตรีจิต พช. น.ส.ธนพร คล้ายกัน 0-2141-6128 น.ส.วรรณพร บุญมี 0-2141-6114
Q&A