รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
การเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
ผลดำเนินการปีงบประมาณ 2553
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
Thesis รุ่น 1.
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
การเตรียมตัว สู่ตำแหน่งวิชาการ
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
แนะนำวิทยากร.
Management Information Systems
STAFFS อาจารย์ แพทย์ใช้ทุน เจ้าหน้าที่ Ph.D. (9) M.Sc. (3)
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา

การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
.ผลงานด้านการเตรียมการสอน การจัดทำแผนการสอน
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
Hands-on Writing Workshop. O bjectives  เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สู่ ระดับผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติทุกระดับ นักวิจัย และประชาชน  เพื่อพัฒนาทักษะด้านการวิจัยให้กับบุคลากร.
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
หน่วยบริการวิชาการ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โครงการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของ คณาจารย์และนิสิต กิจกรรมหลักที่
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การวิจัยในงานประจำ.
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ความเป็นมา ฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมการเผยแพร่งานวิจัยของบุคลากร และเพื่อเป็นกำลังใจให้กับนักวิจัยที่ได้มีการสร้างสรรค์ผลงานวิจัย และเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศด้านการวิจัย จึงได้มีการมอบรางวัลแก่ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่เป็นมาตรฐานสากล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา ซึ่งการพิจารณาคัดเลือกและตัดสิน นั้น จะเรียนเชิญคณาจารย์ในคณะฯ ที่ทรงคุณวุฒิเป็นคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินผลงานวิจัย หลักการและวิธีการพิจารณาผลงานวิจัย 1. คุณสมบัติของผลงานวิจัย ผลงานวิจัย ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ (Indexed Journal) พิจารณาจากผลงานของปี ค.ศ. ที่ผ่านมา บุคลากรของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นชื่อแรก (first author) หรือเป็นผู้จัดทำบทความต้นฉบับ (corresponding author) ในผลงานวิจัย ผลงานวิจัย ดำเนินการวิจัยภายในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลงานวิจัย ระบุที่อยู่ของนักวิจัย เป็นคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลงานวิจัย ไม่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ของผู้เสนอผลงานวิจัย ผลงานวิจัย ยังไม่เคยได้รับรางวัลใดๆ มาก่อน 2. วิธีการพิจารณา พิจารณาเนื้อหาและความเหมาะสมของผลงานตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะแพทยศาสตร์ 3. เกณฑ์การตัดสิน มี 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ความน่าเชื่อถือของงานวิจัย โดยพิจารณาจาก ความชัดเจน - ปัญหา (Research Question) – สมมุติฐาน (Hypothesis) – วัตถุประสงค์ ความถูกต้องและเหมาะสมในการทดลอง ออกแบบ เก็บข้อมูล และนำเสนอข้อมูล (Research Design) ความถูกต้องและน่าเชื่อถือในการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล (Validity and Reliability of Scientific Analysis) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไปตามสมมุติฐาน (ตอบคำถาม) หรือขัดแย้งกับสมมุติฐาน (ไม่ตอบคำถาม) ด้วยเหตุผลและข้อมูลประกอบอย่างน่าเชื่อถือ ส่วนที่ 2 นวัตกรรมและผลกระทบ นวัตกรรม (Innovation) ของผลงาน ผลกระทบ (Impact) 4. ประเภทผลงานวิจัย เป็น 3 ประเภท ประกอบด้วย ผลงานวิจัยประเภท Biomedical research ผลงานวิจัยประเภท Clinical research ผลงานวิจัยประเภท Behavioral research (ถ้ามี) 5. รางวัล แต่ละประเภท กำหนดไว้ 3 รางวัล ประกอบด้วย รางวัลที่ 1 เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมโล่หรือเกียรติบัตร รางวัลที่ 2 เงินรางวัล 7,000 บาท พร้อมโล่หรือเกียรติบัตร รางวัลที่ 3 เงินรางวัล 3,000 บาท พร้อมโล่หรือเกียรติบัตร 6. การมอบรางวัล ผลงานที่ได้รับการตัดสิน รับมอบรางวัลในพิธีเปิดการประชุมวิชาการประจำปี คณะแพทยศาสตร์ ในเดือนตุลาคม ของทุกปี ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- รางวัลนักวิจัยดีเด่น หลักการที่ใช้ในการพิจารณา ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ISI ปี ค.ศ. 2011 ที่มีค่า Impact Factor และระบุที่อยู่เป็น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลงานของอาจารย์คณะแพทยศาสตร์ที่มีชื่อในผลงานวิจัย first author หรือ corresponding author และจัดส่งให้นักวิจัยยืนยันข้อมูลผลงาน ผลงานวิจัยไม่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาหลังปริญญา รางวัล สำหรับนักวิจัยคลินิก 1 รางวัล สำหรับนักวิจัยปรีคลินิก 1 รางวัล รางวัลผลงานวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด หลักการที่ใช้ในการพิจารณา ฝ่ายวิจัย สืบค้นข้อมูลผลงานวิจัยของอาจารย์คณะแพทยศาสตร์ ที่เป็น (first author หรือ corresponding) ที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล Scopus ในปี ค.ศ. 2011 นักวิจัยยืนยันข้อมูลผลงาน มอบรางวัลแก่ผลงานวิจัยของนักวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด รางวัล ประกอบด้วย ผลงานวิจัยประเภท original article อ้างอิงสูงสุดในปี 2011 ผลงานวิจัยประเภท review article อ้างอิงสูงสุดในปี 2011 รางวัลผลงานด้านการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการสร้างเสริมหรือแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน หลักการที่ใช้ในการพิจารณา เป็นสิ่งประดิษฐ์หรือนวัตกรรมที่บุคลากรคณะแพทย์มีส่วนร่วมหลักในผลงาน หรือเป็น ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์โดยมีบุคลากรคณะแพทยศาสตร์เป็นชื่อแรก หรือผู้นิพนธ์ต้นฉบับ ไม่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาหลังปริญญา มีหลักฐานเชิงประจักษ์ของผลงานที่สามารถแสดงให้เห็นว่าผลงานนั้นมีการนำไปใช้ ประโยชน์ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน หรือหน่วยงาน