โดย อาจารย์ สุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ นายวีระ โรจน์พจนรัตน์
Advertisements

พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
“เส้นทางสู่ดวงดาว…เรื่องราวแห่งตัวตน”
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Service Excellence : Knowledge & Skill.
บริหารคนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
“การให้บริการที่มีประสิทธิภาพ”
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
ทำอย่างไรให้ชีวิตมีความสุข
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรม จริยธรรม หมายถึง กิริยาหรือความประพฤติที่ดี ที่เป็นธรรม ที่ถูกต้อง เป็นการกระทำความดี เป็นการกระทำที่ทำให้ผู้กระทำและผู้อื่นได้ประโยชน์โดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน.
นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
บทบาทหน้าที่ของ อาจารย์ที่ปรึกษา
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การสัมภาษณ์ และการให้คำปรึกษา
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
ทักษะการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
การทำงานอย่างมีความสุข
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การพัฒนาความเป็นผู้นำ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
อาจารย์สุพรรนี ภู่กำชัย
มนุษยสัมพันธ์ กับการทำงานเป็นทีม.
บุคลิกลักษณะเฉพาะตน (PERSONALITY TRAITS) ที่องค์กรพึงประสงค์
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ลูกใครวะ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
เลขานุการ รุจิรา จิตพ์ปรารพ.
พระราชดำริ 14 ข้อ เพื่อนักบริหาร
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
L/O/G/O การบริหารจัดการ ภาพลักษณ์องค์กร สำหรับงานป้องกัน ควบคุมโรค นพ.โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 11/12/13.
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
( Human Relationships )
DISC เครื่องมือช่วยบริหารทีม.
YOUR LOGO Page  2 เป้าหมาย 1. เข้าใจถึงอิทธิพลของการแข่งขัน ในยุคทุนนิยมเสรี และผลกระทบต่อภาพรวมของ ประเทศและต่อองค์กร 2. รู้แนวคิด สูตร แนวทางปฎิบัติที่
ดร. สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
ความสำคัญของบุคลิกภาพ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บุคลิกภาพ และ มนุษยสัมพันธ์ โดย รองศาสตราจารย์ดรุณ หาญตระกูล
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความเป็นครู.
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อาจารย์ สุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 081-868-1322 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข การบรรยายพิเศษ เรื่อง “การบริหารจัดการความรู้และการบริการที่ดี” เรื่อง “เทคนิคการทำงานให้ประสบผลสำเร็จและมีความสุข” โดย อาจารย์ สุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 081-868-1322 โครงการพัฒนาศํพยภาพหัวหน้ากลุ่มอำนวยการและหัวหน้ากลุ่มวิชาการ ประจำปี 2555

อาจารย์ สุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ ผู้บรรยาย อาจารย์ สุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ อาจารย์ สรวิช (อ. บิ๊ก)

Global Excellence Model Core Technical Service Excellence Sale Marketing & Communication Management Effectiveness Leadership Specialization

Management Planning Decision Making Organizing Organization Design Staffing (Put the right man on the right job at the right time in the right place)

Coordinating  Directing  Communication Leadership Superior Controlling Coordinating  Directing  Communication Evaluation Subordinate Motivation

Modern Management Globalization Human Rights Environment Participative Democracy Human Relations Personality Creative Thinking

Modern Management (cont.) Positive Thinking Intellectual Property Team Management Stress Management Time Management Sense of Humor How to Presentation

L - LIVELY = มีชีวิตชีวา E - ENCOURAGE = บำรุงน้ำใจผู้คน LEADERSHIP L - LIVELY = มีชีวิตชีวา E - ENCOURAGE = บำรุงน้ำใจผู้คน A - ACTIVE = มีความคล่องแคล่ว D - DECISIVE = มีความเด็ดขาด E - ENDURANCE = อดทนอดกลั้น R - RESPONSIBLE = รับผิดชอบ S - SMART = เฉลียวฉลาดสง่างาม H - HEALTHY = สุขภาพกายและใจดี I - INFORMATIVE = มีความสนใจข่าวสาร P - POLITE = มีความสุภาพ

ลักษณะที่ดีของผู้บังคับบัญชา S = Sympathy ความเห็นอกเห็นใจ U = Understanding ความเข้าใจ P = Personality บุคลิกภาพน่าเลื่อมใส E = Equity ความยุติธรรม คุณธรรม R = Responsibility ความรับผิดชอบ I = Interest การรักษาประโยชน์ O = Opportunity การให้โอกาส ความก้าวหน้า R = Recognize การรู้จักยกย่องให้ปรากฏ

ภาพลักษณ์ผู้บังคับบัญชา 1. เชื่อถือ (บุคลิกภาพ) 2. เชื่อมือ (ความรู้) 3. เชื่อใจ (คุณธรรม)

ลักษณะที่ดีของผู้ใต้บังคับบัญชา S = Sincere มีความจริงใจ U = Useful ทำตัวมีประโยชน์ B = Be-good สดชื่น ประพฤติดี O = Obey เคารพเชื่อฟัง R = Responsible รับผิดชอบ D = Donate อุทิศกายใจ ความคิด I = Improve แก้ไขปรับปรุง N = Nice มีคุณค่า.. น่ารัก A = Advance พัฒนาตน หมั่นเรียนรู้ T = Trust ไว้วางใจได้ E = Efficiency มีประสิทธิภาพ

ผู้บังคับบัญชากับ การสร้างสัมพันธภาพในการทำงาน 1. เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดี 2. ต้องเป็นที่พึ่งของผู้ใต้บังคับบัญชาได้ 3. มีความเป็นธรรมไม่ลำเอียง 4. ดูแลทุกข์สุขและให้ความช่วยเหลือ เท่าที่ควร 5. ให้อิสระในการทำงานตามหน้าที่พอสมควร (มีต่อ)

ผู้บังคับบัญชากับ การสร้างสัมพันธภาพในการทำงาน 6. ยกย่องชมเชยเมื่อผู้ใต้บังคับบัญชา ทำงานบรรลุเป้าหมาย 7. แนะนำสั่งสอน เมื่อผู้ใต้บังคับบัญชาผิดพลาด 8. มีความจริงใจสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชา 9. มุ่งการทำงานเป็นทีมและเป้าหมายขององค์กร เป็นหลัก

ธรรมชาติของมนุษย์ 8. ชอบให้คนอื่นพูดเรื่องที่ตนสนใจ 8. ชอบให้คนอื่นพูดเรื่องที่ตนสนใจ 9. ไม่ชอบให้ใครโต้เถียง 10. อยากให้คนอื่นเห็นด้วยกับ ความคิดตน 11. ชอบเห็นการรับผิดเมื่อทำผิด 12. ต้องการความเป็นกันเอง 13. ทุกคนปรารถนาว่าที่เขาทำอะไร เป็นผลดีนั้นเป็นความคิดของเขา 1. ไม่ชอบให้ใครตำหนิ 2. อยากมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ 3. ทำอะไรสำเร็จเมื่ออยากจะทำ 4. สนใจตนเองมากกว่าคนอื่น 5. ชอบคนหน้ายิ้มมากกว่าหน้าบึ้ง 6. สนใจชื่อของตนเอง 7. ต้องการให้ผู้อื่นฟังเวลาตนพูด โครงการพัฒนาศํพยภาพหัวหน้ากลุ่มอำนวยการและหัวหน้ากลุ่มวิชาการ ประจำปี 2555

ศิลปะการตำหนิ ก่อนตำหนิใครควรศึกษาข้อมูล เสียก่อน เชิญเขามาพูดในที่เฉพาะ ลักษณะสีหน้า สำเนียงในการ ตำหนิ ตำหนิที่การกระทำ มิใช่ตำหนิที่คน เวลาแห่งการตำหนิ ควรตำหนิทีละเรื่อง ให้กำลังใจก่อนการตำหนิ อย่าตำหนิด้วยวิธีการ เปรียบเทียบ สร้างความเชื่อมั่นแม้จะตำหนิ อย่าตำหนิซ้ำซาก ตำหนิแล้วเขาควรจะรู้ว่าเขาผิด อะไร ให้โอกาสเขาร่วมพิจารณาใน ความผิดพลาด รู้จักชมเชยในส่วนที่เขาทำดี ด้วย

ประกาศิตนักบริหาร “คุณทำ ผมรับผิดชอบ” “คุณทำได้เยี่ยมมาก” “คุณคิดยังไง” “ขอความกรุณา” “ขอโทษ” “ขอบคุณ”

บัญญัติ 10 ประการสำหรับผู้นำ จงทำตัวให้ผู้ใต้บังคับบัญชายกย่อง นับถือ จงทำความรู้จักผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านทุกคน จงเป็นผู้สื่อข้อความที่ดี จงเป็นผู้ฟังที่ดี จงเป็นผู้แก้ป้ญหาที่ดี (มีต่อ)

บัญญัติ 10 ประการสำหรับผู้นำ จงเป็นผู้จูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา จงควบคุมสติอารมณ์ จงสละเวลาให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา จงปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนกับที่ท่านต้องการให้ผู้อื่น ปฏิบัติต่อท่าน จงรู้จักการให้อภัย

วิธีสร้างเสน่ห์ให้ตนเอง 1. มีสัมมาคารวะ 2. รู้จักใช้คำพูดที่เหมาะสมกับ กาลเทศะและบุคคล 3. เป็นนักฟังที่ดี 4. ให้เกียรติผู้อื่น 5. มีไมตรีจิตต่อบุคคลทั่วไป 6. สรรเสริญความสำเร็จของ ผู้อื่นอย่างจริงใจ 7. พยายามแสวงหาความสนใจร่วมกับผู้อื่น เสมอ 8. ศึกษาผู้อื่นเพื่อที่สามารถเข้าใจและ ติดต่อกับบุคคลในสิ่งที่เขาสนใจ 9. จดจำลักษณะเด่น และชื่อบุคคล 10. พยายามปรับปรุงบุคลิกของตนให้ เหมาะสมอยู่เสมอ

การปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่น 1. รู้จักตนเอง 2. รู้จักผู้อื่น 3. ทัศนคติที่ดี

สร้างความเป็นกันเอง ไม่ถือตัว พูดจาด้วยความสุภาพ ศิลปะการครองใจคน รู้จักยกย่องผู้อื่น สร้างความเป็นกันเอง ไม่ถือตัว พูดจาด้วยความสุภาพ ยอมรับความคิดเห็นผู้อื่น สนับสนุนผู้อื่น ให้ความร่วมมือ มีอารมณ์ขันและแจ่มใสร่าเริง

(ต่อ) 8. รู้จักยอมรับเมื่อทำผิด 9. ฟังให้มาก พูดให้น้อย ศิลปะการครองใจคน (ต่อ) 8. รู้จักยอมรับเมื่อทำผิด 9. ฟังให้มาก พูดให้น้อย หาเวลาว่างที่จะพบปะผู้อื่น ไม่ขัดคอผู้อื่น ทำตนให้น่าไว้วางใจ ไม่อิจฉาริษยา เป็นคนใจกว้าง

4 Life Positions By: Thomas A Harris 1. I’m O.K. You’re not O.K. 2. I’m not O.K. You’re O.K.    3. I’m not O.K. You’re not O.K. 4. I’m O. K. You’re O.K.