สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ
Advertisements

โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาตลอดชีวิต (โครงการเรียนรู้สู่อาเซียน)
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
แผนภูมิที่ 1 จำนวนเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับผลกระทบฯ ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาการบาดเจ็บทางกาย
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการอบรมสุขภาพจิตในครอบครัว
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แผนกิจกรรมชมรมนักศึกษา ปีงบประมาณ 2554
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปภพรวมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เรื่อง “ทบทวนสถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ.
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลาย สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ภาคใต้.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
สกลนครโมเดล.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยเขต 12
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้

จำนวนผู้สูงอายุ 60+ (คน) จำนวนและร้อยละของผู้สูงอายุในภาคใต้ประเทศไทย พ.ศ. 2538-2553 จำแนกตามเพศ ปี พ.ศ. จำนวนผู้สูงอายุ 60+ (คน) ร้อยละของผู้สูงอายุ รวม ชาย หญิง 2538 615,000 293,000 322,000 7.83 7.43 8.24 2543 716,000 339,000 377,000 8.58 8.09 9.08 2548 807,000 378,000 429,000 9.21 9.84 2553 910,000 423,000 487,000 9.97 9.23 10.73 ภาคใต้ คือ จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสงขลา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดยะลา จังหวัดระนอง จังหวัดกระบี่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

ปัญหาอุปสรรคการจัดกิจกรรมของชมรมของผู้สูงอายุเขตภาคใต้ 1. สถานการณ์ความไม่สงบทำให้รูปแบบการจัดกิจกรรมของชมรม แต่ละครั้งมีการเปลี่ยนแปลง ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมสั้นลง มีการรวมตัวของสมาชิกชมรมเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อออกกำลังกาย บริเวณใกล้บ้าน สมาชิกร่วมกิจกรรมแต่ละครั้งน้อยลง จะใช้วิธีสลับ สับเปลี่ยนกันมา เพราะความไม่ปลอดภัยขณะเดินทางจากบ้านไปร่วมกิจกรรมที่จุดนัด หมายของกลุ่ม 2. ไม่สามารถเยี่ยมผู้สูงอายุตามแผนที่กำหนดไว้ได้ หากมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น 3. ความชัดเจนในการเป็นโครงการ Vertical Program ค่อนข้างช้า ทำให้การดำเนินงานใน พื้นที่ล่าช้าไปด้วย

สรุปผลการสำรวจประชากรสูงอายุไทยปี 2550 1. ด้านสถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประเมินสุขภาพตนเองว่ามีสุขภาพดี คิดเป็นร้อยละ 43.0 โดยผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป พบว่ามีปัญหาสุขภาพมากกว่าผู้สูงอายุช่วงอื่น 2. ด้านการดูแลผู้สูงอายุ  สถานภาพของผู้สูงอายุในครัวเรือนส่วนใหญ่อยู่ในฐานะหัวหน้าครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 56.4 ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวมีเพียงร้อยละ 7.7

3. ด้านการทำงาน รายได้ และการออมของผู้สูงอายุพบว่า ผู้สูงอายุที่ทำงานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 35.1 โดยภาคใต้มีจำนวนผู้สูงอายุที่ทำงานสูงสุดและส่วนใหญ่ทำงานอยู่ในภาคเกษตรกรรม 4. ด้านการเข้าถึงข้อมูลการศึกษา  การเรียนรู้ตลอดชีวิตพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เข้ารับการศึกษาในลักษณะการศึกษานอกโรงเรียน ประมาณ 6 ล้านคน

5. สถานการณ์เด่นของผู้สูงอายุปี 2550 คือความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ความสำคัญและเตรียมสังคมไทยให้พร้อมรับกับการเป็นสังคมผู้สูงอายุ  จึงมีสถานการณ์เด่น 4 กิจกรรม ได้แก่ การสรรหาผู้สูงอายุแห่งชาติประจำปี 2550 มาตรการทางภาษีสำหรับผู้สูงอายุ   บทบาทท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุ และเบี้ยยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ ดูแลผู้สูงอายุที่ควรให้ความสำคัญ การส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ  การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการรับรู้สิทธิของผู้สูงอายุ  และบทบาทท้องถิ่นในการดูแลและจัดการผู้สูงอายุในท้องถิ่นตนเองได้

7. ผู้สูงอายุในภาคใต้ มีภาวะอารมณ์ซึมเศร้าสูงสุด (ร้อยละ 15.5) ผู้สูงอายุภาคเหนือ มีภาวะรู้สึกตนเองไม่มีคุณค่ามากที่สุด(ร้อยละ 10.9)  ผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร มีปัญหาภาวะสุขภาพจิตในภาวะต่างๆ มากกว่าผู้สูงอายุภาคอื่นๆ โดยเฉพาะภาวะคิดฆ่าตัวตายสูงถึง ร้อยละ 5.2 รองลงมาคือ ผู้สูงอายุภาคเหนือ (ร้อยละ 4.1) ผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีภาวะคิดฆ่าตัวตาย ต่ำที่สุด ร้อยละ 1.4

สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้จากการระดมสมองของผู้เข้าร่วมประชุม โรคที่ผู้สูงอายุเป็นมากที่สุดในพื้นที่ของท่านคือโรคอะไรบ้าง ผู้สูงอายุในพื้นที่ของท่านมีกลุ่มที่มีอายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไปเพิ่มมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร ผู้สูงอายุในพื้นที่ของท่านมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพามีจำนวนมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร

เอกสารน่าสนใจ

ของฝาก