เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง SPBB, OUTPUT, PART นายสรวิชญ์ กนกวิจิตร สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
ประวัติวิทยากร ชื่อ-นามสกุล นาย สรวิชญ์ กนกวิจิตร ชื่อ-นามสกุล นาย สรวิชญ์ กนกวิจิตร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการที่ 6 สถานที่ทำงาน สำนักพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการ สำนักงบประมาณ ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระรามที่ 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 ประวัติการศึกษา ๑. นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๒. เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ๓. Master of Public Administration (Public Policy : Evaluation Major) Roosevelt University ประเทศสหรัฐอเมริกา ๔. Cert. Budgeting for Public Work (Jica.) ประเทศญี่ปุ่น
๑. ระบบงบประมาณรัฐบาลกลางและท้องถิ่น ของประเทศญี่ปุ่น ประวัติการอบรม/ดูงาน ๑. ระบบงบประมาณรัฐบาลกลางและท้องถิ่น ของประเทศญี่ปุ่น ๒. การประมาณราคาค่าก่อสร้างงานภาครัฐ ของประเทศญี่ปุ่น ๓. การประเมินผลของรัฐบาลกลางประเทศสหรัฐอเมริกา ๔. การใช้เครื่องมือประเมินผล PART ประเทศสหรัฐอเมริกา ๕.การจัดการงบประมาณของประเทศ เยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ ประสบการณ์การทำงาน - สำนักประเมินผล (ด้านการเกษตร การศึกษาและด้านความมั่นคง) - สำนักมาตรฐานงบประมาณ (ส่วนมาตรฐานสิ่งก่อสร้าง) - สำนักกฎหมายและระเบียบ
- วิทยากรบรรยาย วิชาการจัดการงบประมาณ หลักสูตรอัยการจังหวัด การงานพิเศษ : 1.วิทยากรของสำนักงบประมาณ - วิทยากรบรรยาย วิชาการจัดการงบประมาณ หลักสูตร เจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่การเงิน กรมบัญชีกลาง - วิทยากรบรรยายวิชา การงบประมาณ หลักสูตร ผู้กำกับการ สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ - วิทยากรบรรยาย วิชาการจัดการงบประมาณ หลักสูตรอัยการจังหวัด - วิทยากรบรรยาย วิชา การจัดการงบประมาณและการประเมินผลการ ดำเนินงาน หลักสูตรผู้ตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง - วิทยากรบรรยายวิชาการงบประมาณ หลักสูตร นายทหารการเงิน กองบัญชาการทหารสูงสุด - วิทยากรบรรยาย วิชาการงบประมาณ หลักสูตร นักปกครองชั้นสูง กระทรวงมหาดไทย - ฯลฯ
2.คณะทำงานที่สำคัญของสำนักงบประมาณ - คณะทำงานฝ่ายสำนักงบประมาณ จัดทำคู่มือมาตรฐานการเงิน 7 ประการ: SPBB กับผู้เชี่ยวชาญจากประเทศออสเตรเลีย - คณะทำงานฝ่ายสำนักงบประมาณ พัฒนาเครื่องมือ PART กับคณะที่ ปรึกษาจากประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริกา - คณะทำงานบริหารองค์ความรู้ (KM.) ของสำนักงบประมาณ - ฯลฯ
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 3.อาจารย์พิเศษ - อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - อาจารย์พิเศษ วิชาสัมมนาการคลังและงบประมาณ หลักสูตรปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - อาจารย์พิเศษ หัวข้อการประเมินผลภาครัฐ หลักสูตร MBA (ภาคปกติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0 2273 9522 โทรศัพท์มือถือ 081 345 4564 โทรสาร 0 2273 9523 E-mail:Soravitch@hotmail.com
ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Items Budgeting System) PPBS (Planning Programming Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting System) OUTPUT-4/ART
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Stategic Performance Based Budgeting: SPBB) เปลี่ยนจุดเน้นจาก การจัดการงบประมาณที่เน้นการควบคุมทรัพยากร (Input Oriented) ที่ใช้ในการดำเนินงาน เป็นการมุ่งเน้นผลการดำเนินงาน (Performance Based) ของผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ตามแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานที่ถ่ายภารกิจจากเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับสูง โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จในทุกระดับ แสดงความสำคัญของการติดตามผลและประเมินผล ที่มีต่อระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ โดยอธิบาย จุดมุ่งเน้นที่เปลี่ยนจาก Input และ Process เป็นมุ่งเน้นผลสำเร็จของผลผลิตและผลลัพธ์ โดยการติดตามผลและประเมินผลที่มีตัวชี้วัดผลสำเร็จทั้ง 4 มิติ คือ ปริมาณ คุณภาพ เวลา ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย
แนวคิดของระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด คือ การจัดสรรงบประมาณให้กับองค์กรที่มีศักยภาพ และประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการและส่งผลให้เกิดผลผลิตตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้โดยใช้แผนกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการดำเนินงาน (Cascade Performance Budgeting is good for High Performance Organization)
ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ ตัวชี้วัด
ผลผลิต OUTPUT PRODUCT SERVICE บริการ ที่เป็นรูปธรรม / รับรู้ได้ บริการ ที่เป็นรูปธรรม / รับรู้ได้ จัดทำ หรือ ดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้บุคคล / องค์กรภายนอกใช้ประโยชน์ หรือการตอบคำถามได้ว่า “ ได้รับอะไรจากการดำเนินงานของรัฐ” ( WHAT ? )
ผลลัพธ์ (Outcome) Outcome Output
OUTPUT SPECIFICATION FINAL INPUT PROCESS OUTPUT PRODUCT SERVICE INTERNAL OUTPUT INTERMEDIATE OUTPUT EXTERNAL OUTPUT FINAL OUTPUT INPUT PROCESS (PROCESS ACTIVITY) PRODUCT SERVICE
Key Performance Indicators ตัวชี้วัดผลสำเร็จ Key Performance Indicators ปริมาณ Quantity คุณภาพ Quality เวลา/สถานที่ Timeliness/Place ต้นทุน(ค่าใช้จ่าย) Cost (Price)
ความเชื่อมโยงและเส้นทางการแปลงยุทธศาสตร์เพื่อการจัดสรรงบประมาณ สู่ผลผลิตภายใต้แผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ นโยบายรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ประเทศ เป้าหมายยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ IMPACT OUTCOMES OUTPUTS ACTIVITIES INPUT แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ MTEF ยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการให้บริการกระทรวง กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี งบประมาณประจำปี การให้บริการ ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมนำส่ง แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ CASCADING BUDGETING เงินงบประมาณ
สิ่งที่จำเป็นต้องมีในการถ่ายภารกิจ Output Profile (โครงสร้างผลผลิต) Encyclopedia of Activities (พจนานุกรมของกิจกรรม) Activity Base Cost (ต้นทุนกิจกรรมหลัก)
รูปแบบแสดง Output Profile เป้าหมายหน่วยงาน ผลผลิต 1 ผลผลิต 2 ผลผลิต 3 กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก ต้นทุนกิจกรรมหลัก ต้นทุนกิจกรรมหลัก ต้นทุนกิจกรรมหลัก
Beyond Budgeting PART
PART Significant Measurement Applied Research Determining Congruence Decision Making Description Determining of Value
PART Concept Look Forward Look Backward
PART Objective 1.Goal Achievement (Efficiency/Effectiveness) 2.Delivery system link to output 3.Budget Management 4.Fine tuning
PART Perspective 1.Purpose and Design 2.Strategic Planning 3.Budget Performance Cascade 4.Management 5.Result
PART Preparation 7 Hurdles
1.TQM Concept 1.1 Cascade Performance 1.2 Budget and Activity Control 1.3 Strategic Planning 1.4 Customer Focus
2.Set up Performance Management 2.1 Systematic Approach 2.2 Value Chain ( Long/short Target ) 2.3 Accountability ( Q/Q/T/C )
3.Guilde Line For Performing 3.1 Follow Strategic Planning 3.2 Guilde Line for Sub Agency 3.3 Wholistic 3.4 Fine Tuning Performance ( Always )
4.Core Management Information And Data Collection 4.1 Strategic Information 4.2 Implementation Information 4.3 Monitoring And Evaluation Information
5.In House Evaluation System 5.1 Follow Up 5.2 Monitoring 5.3 Pre/ on-Going / Post Evaluation
6.Third Party Evaluation 6.1 Periodic Evaluation ( Mile Stone ) 6.2 End Fiscal year
7.Decision Making 7.1 Fine Tuning Performance 7.2 Re - Deployment
Evidence Proof Document Proof
ซักถาม ?
ขอขอบคุณ