การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

เสียงสะท้อน เพื่อก่อให้เกิดการแก้ไข ปรับเปลี่ยน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สรุปประเด็นกลุ่ม 1 การเตรียมการและการ กำหนดท่าทีในการเจรจา ต่อรองในระดับสากล.
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สัดส่วนของการส่งออก/GDP
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทำวิจัยนโยบายอย่างไรให้ได้ประโยชน์
Free Trade Area Bilateral Agreement
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
การว่างแผนกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
เพื่อก่อให้เกิดการปฏิรูปประเทศไทย
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
ภญ. อมรา วงศ์พุทธพิทักษ์ ที่ปรึกษาอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
การเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ภายใต้ WTO
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
สรุปการประชุมระดมความคิด
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
Creative Accounting
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล กลุ่ม 1

รายงานที่จะนำเสนอ องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ (เดือนเด่น นิคมบริรักษ์, TDRI) มองย้อนหลัง : ไทยได้อะไรมา เสียอะไรไป (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์)

รายงานที่จะนำเสนอ (จันทวรรณ สุจริตกุล , ธนาคารแห่งประเทศไทย) มองไปข้างหน้า: การเจรจารอบใหม่ ไทยจะมีโอกาสได้อะไร และต้องเตรียมพร้อมอย่างไร (กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์) การปฏิรูประบบการเงินระหว่างประเทศ (จันทวรรณ สุจริตกุล , ธนาคารแห่งประเทศไทย)

องค์การการค้าโลก: สมาคมคนรวยจริงหรือ การกีดกันสินค้าจากประเทศยากจนลดน้อยลงหรือไม่ ในกรณีที่มีข้อพิพาททางการค้า ประเทศที่ยากจนได้รับความเป็นธรรมหรือไม่ การเจรจาในประเด็นใหม่ เช่น TRIPS, SPS, TBT และ Customs Evaluation เป็นประโยชน์แก่ประเทศที่ยากจนหรือไม่ การให้ “แต้มต่อ” แก่ประเทศที่ยากจนใน WTO มีประโยชน์จริงหรือไม่

สรุปผลการศึกษา 1. การเปิดเสรีการค้าที่ผ่านมาเอื้อประโยชน์ให้แก่สินค้าส่งออกจากประเทศอุตสาหกรรมมากกว่าจากประเทศกำลังพัฒนา ภาษีนำเข้าสินค้าจากประเทศกำลังพัฒนา (สิ่งทอ รองเท้า อาหารแปรรูป) สูงกว่าสินค้าจากประเทศอุตสาหกรรม การอุดหนุนสินค้าเกษตรมิได้ลดลงแต่อย่างใดเนื่องจากข้อตกลงมีช่องโหว่

สรุปผลการศึกษา 2. กลไกการเยียวยาข้อพิพาท (dispute resolution) ของ WTO กำหนดให้ผู้ที่ได้รับความเสียหาย “ไปทวงหนี้เอาเอง” โดยการใช้มาตรการตอบโต้ทางการค้า (retaliation)ทำให้ประเทศขนาดเล็กที่มีอำนาจทางการค้าน้อยเสียเปรียบ และในการใช้มาตรการตอบโต้ได้รับความเสียหายมากขึ้น

สรุปผลการศึกษา ไม่มีการวิเคราะห์ (cost benefit analysis) ของข้อผูกพัน 3. ประเด็นใหม่ๆ ที่ประเทศพัฒนาแล้วผลักดันเข้ามาใน WTO ไม่ได้เอื้อประโยชน์ให้แก่ประเทศที่ยากจนแต่อย่างใดเนื่องจาก ไม่มีการวิเคราะห์ (cost benefit analysis) ของข้อผูกพัน

สรุปผลการศึกษา มาตรฐานที่กำหนดขึ้นอิงมาตรฐานของประเทศพัฒนาแล้ว ต้นทุนในการนำมาบังคับสูง ประเด็นในการเจรจามีความซับซ้อนทางเทคนิค

สรุปผลการศึกษา 4. “แต้มต่อ” ที่ให้กับประเทศกำลังพัฒนา ใน WTO โดยส่วนมากแล้วไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างจริงจังเนื่องจาก ไม่ผูกพัน (เช่นการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิค) ไม่เป็นรูปธรรม (เช่นการกำหนดให้ประเทศพัฒนาแล้วคำนึงถึงความจำเป็นของประเทศกำลังพัฒนาในกรณีที่มีข้อพิพาททางการค้า)

สรุปผลการศึกษา ไม่สอดคล้องกับความต้องการ (เช่นการอนุญาตให้ประเทศกำลังพัฒนากำหนดมาตรฐานสินค้านำเข้าเองได้ ในขณะที่ปัญหาสำคัญคือมาตรฐานสินค้าส่งออก) ไม่โปร่งใส เช่นในกรณีที่ GSP ผูกใช้เป็นเครื่องมือในการต่อรองนอกเวที

สรุปผลการศึกษา มีเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้สิทธิ (เช่น การอนุญาตให้ประเทศที่กำลังพัฒนาสามารถปรับเปลี่ยนอัตราภาษีที่ต่างไปจากข้อผูกพันเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ แต่เปิดให้การกระทำดังกล่าวถูกตอบโต้จากผู้ที่ได้รับความเสียหาย)

สรุปแล้ว WTO เป็นสมาคมคนรวยจริงในทางปฏิบัติ แต่หากเราไม่เข้าร่วมการเจรจาแล้ว เราจะมีทางเลือก ที่ดีกว่าหรือ ???

ทำไมประเทศกำลังพัฒนาจึงเสียเปรียบ ขาดความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคและด้านกฎหมายจึง “ตามไม่ทัน” ถูกแรงกดดันนอกเวทีการเจรจา (GSP, AID) ขาดผู้นำ ขาดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน เนื่องจากแต่ละประเทศมุ่งหวังเพียงผลประโยชน์ของตนเอง (Textiles, Agriculture, GSP)

ประเด็นที่ต้องพิจารณา 1. ทำอย่างไรประเทศกำลังพัฒนาจึงจะสร้างอำนาจต่อรองได้ เราจะใช้ประโยชน์จากประเทศจีนและอาเซียนได้อย่างไร เราจะทำให้ประเทศกำลังพัฒนาสละแนวคิดแบบ “ตัวใครตัวมัน” ซึ่งทำให้กลุ่มอ่อนแอได้อย่างไร

ประเด็นที่ต้องพิจารณา 2. การสร้างศักยภาพในการเจรจา เราจะต้องปรับปรุงตัวเองอย่างไร เราจะทำอย่างไรจึงจะมีบทบาทในเชิงรุกแทนที่จะเป็นเพียงผู้สังเกตการณ์ เราควรดำเนินการอย่างไรเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศที่ยากจนเป็นพันธกรณีผูกพันประเทศที่ร่ำรวย เราจะใช้ประโยชน์จากองค์กรพัฒนาต่างประเทศได้มากน้อยเพียงใด

ประเด็นที่ต้องพิจารณา 3. เราควรมีจุดยืนอย่างไรเกี่ยวกับประเด็นเหล่านี้ การลงทุน นโยบายการแข่งขันทางการค้า เกษตร สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม และมาตรฐานสุขอนามัย